Page 55 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 55

จะเห็นไดวาโครงการนี้กวาจะไดแผนแมบทถอดออกมาปฏิบัติใชเวลาตั้งแตป 2516-2522 รวม
               5 รัฐบาล  คือ

                                                1 โครงการ 5 รัฐบาล

                                 2516           อาจารย สัญญา  ธรรมศักดิ์     (นายกรัฐมนตรี)
                                 2517           ม.ร.ว. คึกฤทธิ์  ปราโมช       (นายกรัฐมนตรี)
                                 2518           ม.ร.ว. เสนีย  ปราโมช         (นายกรัฐมนตรี)

                                                (รมช.ไกรสร  ตันติพงศ)
                                 2520           นายธานินท  กรัยวิเชียร       (นายกรัฐมนตรี)
                                 2522           พลเอกเกรียงศักดิ์  ชมนันท    (นายกรัฐมนตรี)
                                                (รมช.ดร.อาภรณ  ศรีพิพัฒน)


                           ทานโสภณ  ชมชาญ  อดีตผูเชี่ยวชาญดานการวางแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน ไดกลาว
               สรุปวา โครงการนี้สําเร็จเพราะมีฐานขอมูลจากที่คุณศิริชัย และคุณเผด็จและที่ไดรวบรวมมา งานมีความ
               ตอเนื่อง ดูไดจาก 1 โครงการ 5 รัฐบาล ถากองแผนงานทําไมตอเนื่อง ทําๆหยุดๆ ไมมีทางสําเร็จ มีการทํางาน

               เปนทีม ไมใชกองแผนงานทํางานอยูคนเดียว และตองเขาใจระบบราชการ

                           “หนึ่งนโยบาย หลายปฏิบัติ” (Centralized Policy Decentralized Operation)  นั่นก็คือ
               หนึ่งนโยบาย คือการพัฒนาทุงกุลารองไห จนสําเร็จ แตหลายสวนตองรวมกันปฏิบัติ






                                               ลําดับตอมา นายฉลอง เทพวิทักษกิจ  อดีตรองปลัดกระทรวงเกษตร
                                               และสหกรณและรองอธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน ไดกลาวในหัวขอ “วิธีการ
                                               บริหาร วางแผน และบริหารแผนแมบท” ดังนี้



                                               กอนป พ.ศ.2514
                                                          พื้นที่และสภาพภูมิประเทศ ทุงกุลารองไห มีพื้นที่ 2.1
                                               ลานไร เปนแองกระทะขนาดใหญ รอบๆขอบเขตเปนพื้นที่สูงและคอย

                                               ลาดต่ําลงสูตอนกลางครอบคลุมปลายเขตจังหวัด 5 จังหวัดไดแก
                                               รอยเอ็ด ยโสธร ศรีสะเกษ สุรินทร และมหาสารคาม มีลักษณะเปนทุง
               โลง แหงแลง และเปนดินเค็ม มีความอุดมสมบรูณต่ํา ซึ่งผลผลิตขาวตอไรต่ํา ประมาณ 15 ถัง ตอไร สภาพ

               เศรษฐกิจขึ้นอยูกับการขาย เชน ปลา เกลือ โค สวนขาวมีไวสําหรับบริโภค














                    52  องคความรูสูปดินสากล 2558
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60