Page 51 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 51

ในระหวางการดําเนินโครงการ ไดมีการจัดทําโครงการแรก คือ โครงการแหลงน้ําขนาดเล็ก
                ซึ่งในป ๒๕๒๓ ไดรับงบประมาณเบื้องตน ๒๕ ลานบาท











                             ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ ๕ (๒๕๒๕ – ๒๕๒๙) ไดมีการนํา
                โครงการพัฒนาพื้นที่ดินเค็มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โครงการปองกันการชะลางพังทลายของดิน
                ภาคเหนือ โครงการปรับปรุงดินดวยอินทรียวัตถุ โครงการปรับปรุงดินเปรี้ยวดินเค็มภาคใต โครงการไมใชสอย
                ชุมชน มาบรรจุในแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ จากผลดังกลาวทําใหกรมพัฒนาที่ดิน ไดรับ

                งบประมาณเพิ่มขึ้น มาอยูในอันดับที่  2 – 3 ของหนวยงานในกระทรวงเกษตรและสหกรณ
                             ป ๒๕๒๕ ไดมีการเจรจากับสํานักงาน กพ. ทําใหกรมพัฒนาที่ดิน ไดจัดตั้งสํานักงานพัฒนา
                ที่ดินเขต ๑๒ เขต เพื่อรองรับการบริหารแบบพื้นที่ และกองสวนกลาง ๑๐ กอง

                             ป ๒๕๓๐ ไดมีการเจรจากับอาจารยคณะนิเทศศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ใหมาอบรม
                เจาหนาที่ของรัฐ ผูนําเกษตรกรทั่วไป เพื่อถายทอดเทคโนโลยี และมาชวยงานของกรมฯ ซึ่งผูนําเกษตรกร
                ที่มาชวยงานของกรมฯ นั้นเรียกวาหมอดินอาสาจากนั้นเปนตนมา
                             ป ๒๕๓๘ กรมพัฒนาที่ดิน เขาสูยุคดิจิตอล มีการนําระบบ GIS  เขามาใช และในอีก ๔ ป

                ตอมาไดมีการตั้งศูนยสารสนเทศขึ้น
                             ป 2543 มีการพัฒนาปุยหมักใหเปนปุยชีวภาพ มีปุยชีวภาพตางๆ ตั้งแต พด.๑ ถึง   พด.๑๒
                และตอมาไดตั้งกองเทคโนโลยีชีวภาพทางดินในปจจุบัน
                             ดร.อรรถ  สมราง ไดกลาวสรุป วา“กรมพัฒนาที่ดิน จะมุงรักษาทรัพยากรที่ดินใหประชาชน

                ไดมีโอกาสเรียนรูเพื่อใชใหเกิดประโยชนสูงสุดในดานดินตอไป”



















                    48  องคความรูสูปดินสากล 2558
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56