Page 42 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 42

กรมพัฒนาที่ดินไดรับมอบหมายใหเปนหนวยงานหลักในการบริหารงานโครงการศึกษาวิธีการฟนฟูที่ดิน
               เสื่อมโทรมเขาชะงุม อันเนื่องมาจากพระราชดําริโดยประสานความรวมมือกับหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของ

               ในระยะแรก กรมพัฒนาที่ดินไดสงเจาหนาที่เขาสํารวจและเก็บรวบรวมขอมูล รวมทั้งศึกษาแนวทางในการพัฒนา
               พื้นที่ดังกลาวอยางละเอียด หลังจากนั้นกรมพัฒนาที่ดินไดดําเนินการวางแผนการพัฒนาพื้นที่โครงการรวมกับ
               หนวยงานอื่นๆ และเมื่อแผนดังกลาวแลวเสร็จหมอมเจาจักรพันธเพ็ญศิริ จักรพันธ ไดทูลเกลาทูลกระหมอมถวาย
               แผนการพัฒนาโครงการศึกษาวิธีการฟนฟูที่ดินเสื่อมโทรมเขาชะงุมฯ แดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ซึ่งเปน

               รายละเอียดเกี่ยวกับแนวทางในการพัฒนา เชน แนวทางในการพัฒนาพื้นที่บางสวนที่เปนบอลูกรัง ซึ่งเกิดจาก
               การขุดหนาดินลูกรังเปนบริเวณกวาง  ไดมีการวางแผนแนวทางการพัฒนาพื้นที่ดังกลาวโดยการปรับปรุงใหเปน
               แหลงเก็บกักน้ํา สวนบางพื้นที่ที่มีการ ชะลางพังทลายของหนาดิน ไดมีการวางแผนแนวทางการพัฒนาพื้นที่

               ดังกลาวโดยการใชระบบการอนุรักษดินและน้ํา ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงเห็นชอบกับการดําเนินงาน
               ของโครงการพรอมทั้งพระราชทาน 2พระบรมราชานุ 2ญาตใหใชชื่อโครงการตามที่เสนอไป คือ “โครงการศึกษา
               วิธีการฟนฟูที่ดินเสื่อมโทรมเขาชะงุม อันเนื่องมาจากพระราชดําริ”

                      โดยระยะตอมาของการดําเนินงานโครงการมูลนิธิชัยพัฒนาไดจัดซื้อที่ดินที่อยูติดกับพื้นที่โครงการ
               จํานวน 91 ไร 3 งาน 81 ตารางวา ซึ่งปลอยไวตามธรรมชาติ โดยไมเขาไปทําอะไรเพื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่ที่มี

               การพัฒนา นอกจากนี้ยังมีราษฎร เกษตรกร ชื่อ นายสี วรรณเทวี นอมเกลานอมกระหมอมถวายที่ดินเพิ่มเติมซึ่ง
               อยูติดกับพื้นที่โครงการทางทิศเหนือ จํานวน 63 ไร 1 งาน 3 ตารางวา และ นางสาววรรณา พูนผล นอมเกลา
               นอมกระหมอมถวายที่ดินเพิ่มเติมซึ่งอยูติดกับพื้นที่โครงการทางทิศตะวันออก จํานวน 20 ไร โดยปจจุบันมีพื้นที่
               รวมทั้งหมดจํานวน 849 ไร 3 งาน 22 ตารางวา

                      โครงการศึกษาวิธีการฟนฟูที่ดินเสื่อมโทรมเขาชะงุมอันเนื่องมาจากพระราชดําริ เริ่มวางแผน

               การพัฒนาในป 2528 การวางแผนการพัฒนาเนนหนักในเรื่องการอนุรักษดินและน้ําใหเหมาะสมกับพื้นที่
               โดยการสรางคันดิน การสรางแหลงน้ําเพื่อเก็บกักความชื้น การปรับปรุงบํารุงดินในรูปแบบตางๆ ดวย
               อินทรียวัตถุ การใชปุยหมัก ปุยพืชสด และน้ําหมักชีวภาพ นอกจากนี้ยังมีเรื่องของการนําหญาแฝกมาใช
               ประโยชนตามแนวพระราชดําริ ทั้งในการปองกันการชะลางพังทลายของหนาดิน เพื่อฟนฟูดินที่มีสภาพ

               เสื่อมโทรม และการรักษาความชุมชื้นในดิน โดยในการพัฒนาพื้นที่ยังไดประสานความรวมมือกับหนวยงานอื่นๆ
               ที่เกี่ยวของ อาทิ กรมชลประทาน รับผิดชอบในการสํารวจและการพัฒนาพื้นที่แหลงน้ํา กรมวิชาการเกษตร
               รับผิดชอบดานการศึกษาวิจัยพันธุพืชตางๆ ที่สามารถปลูกในพื้นที่ของโครงการได เปนตน


               การพัฒนาพื้นที่ในโครงการศึกษาวิธีการฟนฟูที่ดินเสื่อมโทรมเขาชะงุมฯ โดยการปลูกหญาแฝก



                                                                 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงมีพระราชดําริ
                                                         เรื่องหญาแฝกในวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2535 โดยมี

                                                         ใจความวา

                                                                 “ใหใชหญาแฝกมาชวยในการปองกันการ
                                                         ชะลางพังทลายของหนาดิน การใชหญาแฝกเพื่อการ
                                                         อนุรักษดินและน้ํา ปองกันดินที่ถูกกัดเซาะเปนรองลึก
                                                         การปลูกหญาแฝกเปนแนวแทนคันดิน”

                    ภาพที่ 8 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว

                ทรงปลูกหญาแฝก เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2535



                                                                               แฝกสรางดินที่เขาชะงุม  39
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47