Page 39 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 39

ภาพที่ 7 กราฟเสนแสดงการเปรียบเทียบผลการศึกษาปริมาณน้ําในพื้นที่พรุโตะแดง โดยวิธีการใชสมการสมดุลน้ํา
                                  เบื้องตนและวิธีการใชระบบสารสนเทศภูมิศาสตรในการประเมินปริมาณน้ํา



                      จากผลการศึกษาทําใหมีการบริหารจัดการน้ําในพื้นที่พรุโตะแดง ใหมีความสมดุลไมมากเกินไป
               หรือนอยเกินไป เชน ถาเดือนใดปริมาณน้ําในพื้นที่พรุนอยกวาที่คํานวณ กรมชลประทานจะดําเนินการบริหาร
               จัดการน้ําโดยการปดประตูน้ําทั้ง 8 แหงทันที มิฉะนั้นน้ําจะแหงหรือถาเดือนใดมีปริมาณน้ําในพื้นที่พรุมากกวา
               ที่คํานวณ กรมชลประทานจะดําเนินบริหารจัดการน้ําโดยการเปดประตูน้ําทั้ง 8 แหง เพื่อระบายน้ําออกใหมาก

               ที่สุด กรมชลประทานไดยึดแนวทางนี้ในการบริหารจัดการน้ํามาโดยตลอดและยังคงรักษาความสมดุลของน้ํา
               ในพรุไวได
                      ทานอธิบดีอภิชาต จงสกุล ไดกลาวทิ้งทายในการบรรยายพิเศษในครั้งนี้วา “ใหคิดเสียวาพรุโตะแดง
               เปนทรัพยากรที่มีคุณคาของประเทศที่เราไมสามารถสรางขึ้นมาได ธรรมชาตินั้นตองใชเวลานับพันปกวาจะ

               สรางธรรมชาติอันสวยงามนี้ขึ้นมาแตเรากลับสามารถทําลายไดในพริบตา  ฉะนั้น ชวยกันรักษาไว
               กรมพัฒนาที่ดินนั้นเปนหนึ่งในหนวยงานที่ดูแลพรุโตะแดง ภารกิจของเราคือ งานอันเนื่องมาจากพระราชดําริ
               ที่จะตองรักษาพรุโตะแดงไวใหลูกหลาน เพราะทรัพยากรทั้งหลายในโลกนี้มันไมใชเปนของเรามันเปนของ
               ลูกหลานเราที่เรายืมมาใชกอนเพราะฉะนั้นอยาใชจนหมด จนกระทั่งลูกหลานไมมี...”




























                    36  องคความรูสูปดินสากล 2558
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44