Page 41 - โครงการการจัดทำแผนที่สภาพการใช้ที่ดินโดยใช้ภาพถ่ายทางอากาศออร์โธสีและข้อมูลดาวเทียมสำรวจทรัพยากรจังหวัดพะเยา ปี พ.ศ.2558
P. 41

24





                   และสัตวปา มีแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติที่สําคัญคือ ดอยภูลังกา และดอยภูนม เปนตน (กรมอุทยาน
                   แหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช, 2552)

                   2.5  สภาพเศรษฐกิจและสังคม
                         2.5.1 ประชากร
                              จากรายงานสํานักงานจังหวัดพะเยาในป พ.ศ. 2558 พบวามีจํานวนประชากร รวมทั้งสิ้น 479,230

                   คน แยกเปนชาย 233,882คน และหญิง จํานวน 245,348คน และมีจํานวนบาน 178,377 หลังคาเรือนอําเภอที่มี
                   จํานวนประชากรมากที่สุด ไดแก อําเภอเมืองพะเยามีจํานวนประชากร125,351 คน และมีความหนาแนนของ
                   ประชากรมากที่สุด 149 คนตอตารางกิโลเมตร ขณะที่อําเภอเชียงมวนมีจํานวนประชากรนอยที่สุด 18,995 คน

                   และมีความหนาแนนของประชากรนอยที่สุด  26  คนตอตารางกิโลเมตร  โดยมีความหนาแนนของประชากร
                   เฉลี่ยทั้งจังหวัด75คนตอตารางกิโลเมตรรายละเอียดดังตารางที่ 3


                   ตารางที่ 3 จํานวนประชากรรายอําเภอจังหวัดพะเยา ป พ.ศ. 2557

                                    เนื้อที่                 ประชากร                     ความหนาแนน

                       อําเภอ     (ตร.กม.)       ชาย          หญิง           รวม         ของประชากร
                                                                                          (คน/ตร.กม.)
                    เมืองพะเยา       842.08       59,515        65,836      125,351             149
                    จุน              571.23       24,011        25,745        49,756              87

                    เชียงคํา         707.35       37,498        37,793        75,291            106
                    เชียงมวน        722.86         9,511        9,484        18,995              26
                    ดอกคําใต        823.29       34,174        35,981        70,155              85

                    ปง             1,783.46       26,254        26,105        52,359              29
                    แมใจ            300.76      16,834         17,421        34,255            114
                    ภูซาง            370.20      15,769         15,865        31,634              85
                    ภูกามยาว         213.83       10,316        11,118        21,434            100

                        รวม        6,335.06     233,882        245,348       479,230             75
                   ที่มา : สํานักงานจังหวัดพะเยา (2558)

                         2.5.2 โครงสรางทางเศรษฐกิจและขนาดเศรษฐกิจของจังหวัด

                              ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดพะเยา ป พ.ศ. 2554 เทากับ 27,184 ลานบาท มีผลิตภัณฑมวลรวม
                   จังหวัดเฉลี่ยตอหัว  50,814  บาท  จัดอยูในลําดับที่  14  ของจังหวัดในภาคเหนือ  และลําดับที่  59  ของประเทศ

                   ประกอบดวย  สาขาการผลิตภาคเกษตรมีมูลคารวม  9,577  ลานบาท  หรือรอยละ  35.23  ภาคนอกเกษตร
                   มูลคา 17,607 ลานบาท หรือรอยละ 64.77 ของมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมทั้งหมด จําแนกตามสาขาการผลิตที่
                   สําคัญ ดังนี้
                              1)  ภาคเกษตร มีมูลคารวม 9,577 ลานบาท โดยสาขาเกษตรกรรมมีมูลคาสูงสุด 9,444

                   ลานบาท หรือรอยละ 35.23  ของผลิตภัณฑมวลรวมทั้งจังหวัด ประกอบดวยการผลิตพืชที่สําคัญของจังหวัด
                   คือ ขาว ขาวโพดเลี้ยงสัตว มันสําปะหลัง ยางพารา หอมแดง กระเทียม และไมผลที่สําคัญ ไดแก ลิ้นจี่ และ
                   ลําไย
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46