Page 40 - โครงการการจัดทำแผนที่สภาพการใช้ที่ดินโดยใช้ภาพถ่ายทางอากาศออร์โธสีและข้อมูลดาวเทียมสำรวจทรัพยากรจังหวัดพะเยา ปี พ.ศ.2558
P. 40

23





                         2.4.3 ทรัพยากรปาไม
                              ในป พ.ศ. 2551 พื้นที่จังหวัดพะเยาสวนที่มีสภาพเปนพื้นที่ปา คิดเปนสัดสวนรอยละ 53.36 ของ
                   เนื้อที่จังหวัด โดยมีเนื้อที่ 3,259.32 ตารางกิโลเมตร ถือเปนจังหวัดที่มีสัดสวนของเนื้อที่ปาตอเนื้อที่จังหวัดใน

                   ลําดับที่ 3  ของกลุมลุมน้ําหลักในพื้นที่สํานักงานสิ่งแวดลอมภาคที่ 2 โดยมีพื้นที่ปาไมตามกฎหมายประเภท
                   ตางๆดังนี้
                              1)  ปาสงวนแหงชาติ
                                    จังหวัดพะเยามีปาสงวนแหงชาติทั้งหมด 15  แหง รวมเนื้อที่ 2,545,537  ไร   หรือรอยละ
                   64.29 ของเนื้อที่จังหวัด (สํานักงานจังหวัดพะเยา, 2558)

                              2)  อุทยานแหงชาติดอยภูนาง
                                    ครอบคลุมพื้นที่อําเภอดอกคําใต อําเภอปง และอําเภอเชียงมวนจังหวัดพะเยา มีเนื้อที่
                   538,128 ไร สภาพปาสวนใหญเปนปาเบญจพรรณและปาเต็งรัง มีสัตวปาหลากหลายชนิดรวมทั้งสัตวปาหายาก

                   เชน แมวลายหินออน แมวดาว โดยเฉพาะนกยูงจะสามารถพบเห็นโดยทั่วไป นอกจากนี้ยังมีแหลงทองเที่ยว
                   ทางธรรมชาติ เชน น้ําตกธารสวรรค น้ําตกนาบัว และถ้ําใหญผาตั้ง
                              3)  อุทยานแหงชาติปาแมปม
                                    กรมปาไมพิจารณาจัดตั้งเปนอุทยานแหงชาติเมื่อป พ.ศ. 2537 จากปาสงวนแหงชาติแมปม

                   ปาสงวนแหงชาติแมพุ  ปาสงวนแหงชาติหวยตนยาง  และปาสงวนแหงชาติหวยแมแกว  ตั้งอยูที่อําเภอแมใจ
                   จังหวัดพะเยา และมีพื้นที่อยูในเขตอําเภอพาน และอําเภอปาแดด จังหวัดเชียงราย มีเนื้อที่รวม 222,500 ไร ซึ่งมี
                   พื้นที่ครอบคลุมในเขตอําเภอแมใจ จังหวัดพะเยา 85,069 ไร สภาพปาเปนปาเบญจพรรณ และปาเต็งรัง
                              4)  อุทยานแหงชาติภูซาง

                                    ตั้งอยูในเขตอําเภอภูซาง และอําเภอเชียงคํา จังหวัดพะเยา และอําเภอเทิง จังหวัดเชียงราย
                   มีเนื้อที่  178,000  ไร มีพื้นที่ติดตอกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สภาพปาเปนปาดิบแลงปาดิบเขา
                   ปาเต็งรัง และปาเบญจพรรณ มีความหลากหลายของสัตวปามากกวา 40 ชนิด ปจจุบันเปนแหลงทองเที่ยวที่สําคัญ
                   ของภาคเหนือตอนบน เชน น้ําตกภูซาง ดอยผาคํา เปนตน (กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช, 2555)

                              5)  เขตรักษาพันธุสัตวปาดอยผาชาง
                                    จากพระราชกฤษฎีกา เมื่อ ป พ.ศ. 2523  กรมปาไม ประกาศจัดตั้งปาสงวนแหงชาติดอย
                   ชาง เปนเขตรักษาพันธุสัตวปาดอยผาชาง ครอบคลุมพื้นที่ตําบลผาชางนอย อําเภอปง จังหวัดพะเยา เนื้อที่

                   360,468  ไร สภาพพื้นที่เปนเทือกเขาสูง ปกคลุมดวยปาดิบเขา ปาเบญจพรรณ และปาเต็งรัง จาก
                   ระดับทะเลปานกลางประมาณ 400-1,600  เมตร เปนแหลงตนน้ํา ลําธารหลายสายรวมเปนแมน้ํายม
                   (สํานักอนุรักษสัตวปา, ม.ป.ป.)
                              6)  เขตรักษาพันธุสัตวปาเวียงลอ
                                    จากพระราชกฤษฎีกา เมื่อป พ.ศ. 2540 กรมปาไม ประกาศจัดตั้งปาสงวนแหงชาติแมจุน

                   ปาแมน้ํายม ปาหวยไคร และปาสงวนแหงชาติน้ําแวน เปนเขตรักษาพันธุสัตวปาเวียงลอ เนื้อที่  231,875  ไร
                   ครอบคลุมพื้นที่อําเภอจุน อําเภอดอกคําใต และอําเภอเชียงคํา สภาพปาโดยทั่วไปเปนปาเบญจพรรณ และปาเต็งรัง
                   มีความหลากหลายของสัตวปาทองถิ่นจํานวนมาก เชน นกยูง เลียงผา เปนตน (สํานักอนุรักษสัตวปา, ม.ป.ป.)

                              7)  วนอุทยานดอยภูลังกา
                                    จากพระราชกฤษฎีกา เมื่อ ป พ.ศ. 2545 กรมปาไม ประกาศจัดตั้งปาสงวนแหงชาติปาน้ํา
                   เปอย ปาน้ําหยวน และปาน้ําลาว และปาสงวนแหงชาติปาแมยม เปนวนอุทยานดอยภูลังกาซึ่งครอบคลุมพื้นที่
                   อําเภอเชียงคําและอําเภอปงจังหวัดพะเยามีเนื้อที่รวม 7,800  ไร สภาพทั่วไปเปนปาบนเทือกเขาสูง

                   จากระดับทะเลปานกลาง ประมาณ 900-1,720 เมตร สวนใหญเปนปาดิบเขา มีความหลากหลายทั้งพันธุพืช
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45