Page 26 - โครงการการจัดทำแผนที่สภาพการใช้ที่ดินโดยใช้ภาพถ่ายทางอากาศออร์โธสีและข้อมูลดาวเทียมสำรวจทรัพยากรจังหวัดพะเยา ปี พ.ศ.2558
P. 26

12





                    250




                    200




                    150

                                                                                                ความชื้นสัมพัทธเฉลี่ย (%)

                    100                                                                         อุณหภูมิเฉลี่ย (ºC)

                                                                                                ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ย (มม.)

                     50




                      0





                   ภาพที่ 3 แผนภูมิลักษณะอุตุนิยมวิทยาจังหวัดพะเยาเฉลี่ยรายเดือนในคาบ 30 ป พ.ศ. 2528-2557


                   2.4  ทรัพยากรธรรมชาติ

                         2.4.1 ทรัพยากรดิน

                              จากขอมูลแผนที่กลุมชุดดินจังหวัดพะเยา  ขนาดมาตราสวน  1:25,000  (กรมพัฒนาที่ดิน,  2549)
                   พบวาทรัพยากรดินจังหวัดพะเยา มีทั้งหมด 18 กลุมชุดดิน มีเนื้อที่ 3,782,094 ไร หรือรอยละ 95.52 ของเนื้อที่
                   จังหวัด  และเปนพื้นที่เบ็ดเตล็ด  3  ประเภท  ไดแก  พื้นที่ดาดหิน  พื้นที่ชุมชน  และพื้นที่แหลงน้ํา  มีเนื้อที่

                   177,318 ไร หรือรอยละ 4.48 ของเนื้อที่จังหวัด (ตารางที่ 2 และภาพที่ 4) มีรายละเอียดดังตอไปนี้
                              1)  กลุมชุดดินที่ 5


                                    กลุมชุดดินที่เปนดินเหนียวลึกมากสีเทาที่เกิดจากวัตถุตนกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ําพบ
                   ในบริเวณที่ราบตะกอนน้ําพามีสภาพพื้นที่เปนพื้นที่ราบลุมหรือราบเรียบมีน้ําแชขังในชวงฤดูฝนการระบายน้ํา
                   เลวความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลางบางพื้นที่พบในพื้นที่ลุมต่ํามีน้ําไหลบาทวมขังสูงในฤดูฝน หรือ
                   พบเม็ดปูนมากภายในความลึก 100 เซนติเมตร จากผิวดินมีเนื้อดินชั้นบนเปนดินรวนปนเหนียวลึกมากสีเทา

                   แก มีจุดประสีเหลืองหรือสีน้ําตาล ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกรดเล็กนอยมีคาความเปนกรดเปน
                   ดางประมาณ 6.0-6.5 มีเนื้อดินชั้นลางเปนดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทรายแปงสีน้ําตาลปนเทาหรือสีเทามี
                   จุดประสีน้ําตาลสีเหลืองหรือสีแดงปฏิกิริยาเปนกรดเล็กนอยถึงเปนดางปานกลางมีคาความเปนกรดเปนดาง
                   ประมาณ  6.5-8.0  มักพบกอนสารเคมีสะสมพวกเหล็กและแมงกานีสหรือเม็ดปูนปะปนอยูในดินชั้นลางมีเนื้อที่

                   231,533 ไรหรือรอยละ 5.85 ของเนื้อที่จังหวัด
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31