Page 24 - โครงการการจัดทำแผนที่สภาพการใช้ที่ดินโดยใช้ภาพถ่ายทางอากาศออร์โธสีและข้อมูลดาวเทียมสำรวจทรัพยากรจังหวัดพะเยา ปี พ.ศ.2558
P. 24

10







                   2.2  สภาพภูมิประเทศ

                              ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปลอมรอบดวยเทือกเขา ทั้งดานตะวันออก ดานตะวันตก ดานใต
                   และตอนกลางของจังหวัด เทือกเขาเหลานี้จะทอดตัวเปนแนวยาวจากเหนือลงใต มีที่ราบเหมาะแกการเพาะปลูก
                   อยูสองขางเทือกเขาและระหวางลําน้ํา มีเนื้อที่ภูเขาสูงและสูงมากที่สุด ประมาณรอยละ 47 ของเนื้อที่จังหวัด

                   มีพื้นที่เนินเขาผสมที่ราบ ประมาณรอยละ 35 และมีที่ราบลุมนอยที่สุด ประมาณรอยละ 18 เทานั้น
                              ระดับความสูงของพื้นที่จังหวัดพะเยา มีความสูงระหวาง 300 - 1,550 เมตร จากระดับทะเล
                   ปานกลาง โดยมีเทือกเขาสูงอยูทางทิศตะวันตก ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และทิศตะวันออกเฉียงใต บริเวณ
                   อําเภอเชียงคํา อําเภอปง อําเภอเชียงมวน ทิศตะวันตกของอําเภอเมืองพะเยา และอําเภอแมใจ เทือกเขา
                   เหลานี้ทอดตัวในแนวเหนือ - ใต ขนานไปกับที่สูงตอนกลางที่คอย ๆ เทลาดลงสูที่ราบบริเวณอําเภอจุน

                   อําเภอแมใจ อําเภอดอกคําใต และอําเภอเมืองพะเยา โดยมีเสนชั้นระดับความสูงไลระดับ ตั้งแต 300  -  500
                   เมตร เหนือระดับทะเลปานกลางสําหรับบริเวณที่ราบลุมและที่ลุม ระดับตั้งแต 500 - 1,000 เมตรเหนือระดับ
                   ทะเลปานกลางสําหรับที่ลาดเชิงเขา และระดับตั้งแต 1,000 - 1,550 เมตรเหนือระดับทะเลปานกลางสําหรับ

                   ที่ราบสูงและภูเขา
                              ในพื้นที่ของจังหวัดพะเยา มีบริเวณที่ราบสูงเปนพื้นที่ที่สําคัญ ไดแก บริเวณที่ราบสูงตอนกลาง
                   ของจังหวัดพะเยา ในเขตอําเภอดอกคําใต อําเภอจุน อําเภอปง ที่ประกอบไปดวยเทือกเขาหลายเทือกเขา
                   อันเปนแหลงกําเนิดของตนน้ําลําธารหลายสาย เทือกเขาที่สําคัญ ไดแก ดอยภูลังกา ซึ่งมีระดับความสูง

                   1,098 เมตร จากระดับทะเลปานกลาง และดอยสันปนน้ําในเขตอําเภอปง ซึ่งเปนแหลงตนน้ําของแมน้ํายม
                              นอกจากนี้ หากแบงภูมิประเทศตามลักษณะของลุมน้ําจะพบไดวา จังหวัดพะเยา มีพื้นที่อยู
                   ทั้งในเขตลุมน้ําโขง และลุมน้ําเจาพระยา สวนที่อยูในลุมน้ําโขง คือ พื้นที่อําเภอแมใจ อําเภอเมืองพะเยา
                   อําเภอดอกคําใต อําเภอจุน อําเภอปง (บางสวน) และอําเภอเชียงคํา สวนที่อยูในเขตลุมแมน้ําเจาพระยา

                   คือ อําเภอปง (บางสวน) และอําเภอเชียงมวนซึ่งเปนแหลงตนน้ําของแมน้ํายม
                              เทือกเขาที่สําคัญของจังหวัดพะเยา ไดแก เทือกเขาดอยภูลังกา ดอยสันปนน้ํา ดอยแมสุก
                   ดอยขุนแมฝาด ดอยขุนแมต๋ํา และดอยขุนแมตอม แมน้ําสําคัญที่ไหลผานจังหวัดพะเยามี 3 สาย คือ แมน้ําอิง
                   แมน้ําลาว และแมน้ํายม(กรมพัฒนาที่ดิน, 2549)

                   2.3  สภาพภูมิอากาศ

                              จากลักษณะอุตุนิยมวิทยาจังหวัดพะเยา เฉลี่ยรายเดือน ในคาบ 30 ป พ.ศ. 2528-2557 พบวา

                   จังหวัดพะเยา มีปริมาณน้ําฝน 1,168.7  มิลลิเมตรตอป มีจํานวนวันที่ฝนตก 116 วันตอป เดือนที่ฝนตกมาก
                   ที่สุด คือ เดือนกันยายน มีปริมาณ 211.8 มิลลิเมตร เดือนที่ฝนตกนอยที่สุด คือ เดือนมกราคม มีปริมาณ
                   7.1 มิลลิเมตร อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดทั้งป 25.2 องศาเซลเซียส เดือนเมษายน เปนเดือนที่มีอากาศรอนที่สุด

                   35.8องศาเซลเซียส และเดือนมกราคม จะมีอากาศหนาวเย็นที่สุด 14.0 องศาเซลเซียส โดยมีความชื้นสัมพัทธ
                   เฉลี่ยรอยละ 76 (รายละเอียดดังตารางที่ 1 และภาพที่ 3) จากลักษณะดังกลาว แบงฤดูกาลได 3 ฤดู ดังนี้

                              ฤดูรอน  อยูในระหวางเดือนมีนาคม-พฤษภาคม อากาศรอนจัดในชวงเดือนเมษายน-พฤษภาคม
                   จากขอมูลอุตุนิยมวิทยาจังหวัดพะเยา เฉลี่ยรายเดือน 30 ป อุณหภูมิสูงสุด 35.8 องศาเซลเซียส ในเดือนเมษายน

                              ฤดูฝน     อยูในระหวางเดือนพฤษภาคม-ตุลาคม ฝนตกชุกหนาแนนในชวงเดือนสิงหาคม-กันยายน
                   ปริมาณน้ําฝนสูงสุด 211.8 มิลลิเมตร ในเดือนกันยายน และจํานวนวันฝนตกสูงสุด 20 วัน ในเดือนสิงหาคม
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29