Page 129 - โครงการการจัดทำแผนที่สภาพการใช้ที่ดินโดยใช้ภาพถ่ายทางอากาศออร์โธสีและข้อมูลดาวเทียมสำรวจทรัพยากรจังหวัดพะเยา ปี พ.ศ.2558
P. 129

100


                   หมายเหตุ :


                   1) การเขียนสัญลักษณผสม ใชเครื่องหมายดังนี้ :-

                       X/Y  พื้นที่การใชประโยชนที่ดิน 2 ชนิด ในอัตราสวนประมาณ 50% ตอ 50%
                       X+Y พื้นที่การใชประโยชนที่ดิน 2 ชนิดตอเนื่องกัน โดยมีพืช x เปนพื้นที่หลักหรือเปนพืชที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจ
                   มากกวาพืช Y คํานวณเนื้อที่เฉพาะ X


                   2) พื้นที่ที่เคยทําเกษตรกรรมแตปลอยทิ้งรางมานาน เนื่องจากดินไมเหมาะสมหรือพื้นที่ที่ดินมีความอุดมสมบูรณต่ําโดย
                   ธรรมชาติ ใชสัญลักษณ M101 สําหรับพื้นที่ที่มีหญาเปนสวนใหญ  M102 สําหรับพื้นที่ที่เปนไมพุมหรือสลับหญาธรรมชาติ
                   บางสวน  M201  สําหรับพื้นที่ที่มีพืชน้ําหรือวัชพืชน้ําขึ้นและ M403 สําหรับพื้นที่หินโผล
                   3) ขนาดของหนวยแผนที่การใชที่ดินที่เล็กที่สุดสําหรับลงบนแผนที่คือ 0.25 ตารางเซนติเมตรทุกมาตราสวน (0.5x0.5 ซม. หรือพื้นที่ 40 ไร

                   บนแผนที่มาตราสวน 1 : 50,000 หรือพื้นที่ 10 ไร บนแผนที่มาตราสวน 1 : 25,000)
                   4) แผนที่โครงการชลประทานไดมาจาก กรมชลประทาน และหนวยงานอื่นที่รับผิดชอบสําหรับพื้นที่ที่มีการชลประทาน
                   ใส I ไวตรงหนาสัญลักษณ เฉพาะงานระดับโครงการพิเศษเทานั้น

                   5) * ใชในการจําแนกแผนที่การใชที่ดินมาตราสวนใหญ ตั้งแต 1:4,000 ขึ้นไปเทานั้น


                                                                           กลุมวิเคราะหสภาพการใชที่ดิน

                                                                           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน

                                                                           กรมพัฒนาที่ดิน
                                                                           14 ตุลาคม 2557
   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134