Page 110 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองเทพา
P. 110

3-50




                                   การเลือกคุณลักษณะที่ดินเพื่อใชเปนตัวแทนคุณภาพที่ดินในการประเมินความ

                  เหมาะสมที่ดินตามระบบ FAO  กําหนดในระบบไว 25 ชนิด สําหรับประเทศไทยใชคุณลักษณะดิน

                  เพื่อใชเปนตัวแทนคุณภาพที่ดินในการประเมินความเหมาะสมที่ดิน 13 ชนิด
                  โดยตัวแทนคุณภาพที่ดินแตละตัวมีขอจํากัดในการเลือกใชจากปจจัยดาน 1) มีผลตอพืชหรือประเภท

                  การใชที่ดินนั้นๆ 2) พบคาวิกฤตในพื้นที่ปลูกนั้นๆ 3) การรวบรวมขอมูลตองสามารถปฏิบัติไดจริง

                  จากเงื่อนไขดังกลาว จําเปนตองจัดลําดับความสําคัญคุณภาพที่ดินกอนที่จะนํามาประเมิน ตามเงื่อนไข

                  การคัดเลือกคุณภาพที่ดิน
                                เมื่อทําการจัดลําดับความสําคัญแลวพบวา เงื่อนไขหลักขึ้นอยูกับการรวบรวม

                  ขอมูลคุณลักษณะที่ดิน ดังนั้นเมื่อนํามาใชในการประเมินความเหมาะสมทางกายภาพของพืชตางๆ ใน

                  เขตลุมน้ําสาขา จึงมีปจจัยหลัก 7 ปจจัย ที่นํามาวิเคราะห ดังนี้
                                   1) ความชุมชื้นที่เปนประโยชนตอพืช (m)

                                   2) ความเปนประโยชนของออกซิเจนตอรากพืช (o)
                                   3) ความเปนประโยชนของธาตุอาหาร (s)

                                  4) ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (n)

                                   5) สภาวะการหยั่งลึกของราก (r)
                                   6) ศักยภาพการใชเครื่องจักร (w)

                                    7) ความเสียหายจากการกัดกรอน (e)
                                      การจําแนกชั้นความเหมาะสมของที่ดินไดจําแนกชั้นความเหมาะสมออกเปน 4

                  ชั้น (Class) และกําหนดชั้นความเหมาะสมในแตละชั้นความเหมาะสมออกเปนชั้นยอย (Subclass) ตาม
                  ขอจํากัดของคุณภาพที่ดินที่มีอิทธิพลของพืชหลักตามประเภทการใชที่ดิน ทั้งนี้ ใชวิธีการประเมินจาก
                  กลุมของคุณลักษณะที่ดินที่มีขอจํากัดรุนแรงที่สุด ทั้งนี้ สามารถจัดชั้นความเหมาะสมของที่ดินได 4 ชั้น

                  คือ

                                     S1: ชั้นที่มีความเหมาะสมสูง
                                     S2: ชั้นที่มีความเหมาะสมปานกลาง

                                     S3: ชั้นที่มีความเหมาะสมเล็กนอย

                                     N:  ชั้นที่ไมมีความเหมาะสม

                                     ผลจากการประเมินความเหมาะสมของที่ดินของลุมน้ําสาขาคลองเทพา

                  สามารถจําแนกการจัดชั้นความเหมาะสมของที่ดินในระดับชั้นยอยโดยแยกเปนเขตเกษตรที่อาศัย
                  น้ําฝน (ตารางที่ 3-15) และเขตพื้นที่เกษตรน้ําฝนมีการใชน้ําจากแหลงน้ําตามธรรมชาติและแหลงน้ํา

                  ใตดินในการเพาะปลูกพืช (ตารางที่ 3-16) มีรายละเอียดดังนี้







                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115