Page 108 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองเทพา
P. 108

3-48




                  ลุมใกลแมน้ํา หลังชวงฤดูฝนจากการสํารวจวิเคราะหรวมกับขอมูลดินและขอมูลสภาพการใชที่ดิน

                  สามารถคัดเลือกประเภทการใชประโยชนที่ดินลุมน้ําสาขาคลองเทพาในเขตน้ําฝน มีรายละเอียดดังนี้

                  (ตารางที่ 3-14)
                            1)  ประเภทการใชประโยชนที่ดินในเขตเกษตรน้ําฝน สามารถคัดเลือกประเภทการใช

                  ประโยชนที่ดินได ดังนี้

                                1.1) ขาวนาป  เกษตรกรนิยมปลูกขาวพันธุเล็บนกปตตานี  พันธุเข็มทอง มีการปลูกแบบนา

                  ดํา มีการเตรียมดินเพื่อทําแปลงกลาเปนระยะเวลา 30 วันในชวงเดือนกรกฎาคม หลังจากนั้นทําการ
                  ไถดะ ไถแปร คราดเพื่อทําเทือก และทําการปกดําในเดือนสิงหาคม มีการจัดการโดยใสปุย 2 ครั้ง ครั้งแรก

                  รองพื้นที่ใชปุยเคมีสูตร 16-20-0 อัตรา 20 กิโลกรัม/ไร ครั้งที่ 2 ใสปุยกอนขาวออกรวงใชปุยเคมีสูตร
                  46-0-0อัตรา 15-20 กิโลกรัม/ไร เก็บเกี่ยวชวงเดือนกุมภาพันธ ใชแรงงานคนเปนหลัก ผลผลิต

                  ประมาณ 350-450 กิโลกรัม/ไร

                                1.2) ปาลมน้ํามัน เกษตรกรนิยมปลูก ปาลมน้ํามันสายพันธุ ลูกผสม และพันธุพื้นเมือง โดย
                  ทําการเพาะกลา ใหตนกลาที่ใชปลูกมีอายุที่เหมาะสมคือ 10 -12 เดือน แลวนํามาปลูกลงแปลงที่ทําการ

                  เตรียมดินเรียบรอยแลว ขุดหลุมปลูกใหมีขนาดขนาดของหลุม 45 x 45 x 35 เซนติเมตร มีระยะ

                  9 เมตร วิธีการขุดหลุมดินชั้นบน และชั้นลางแยกกัน และตากหลุมไวประมาณ 10 วัน เริ่มปลูกชวง

                  ฤดูฝน เดือนพฤษภาคม – มิถุนายน การปลูกซอม ควรทําภายในระยะเวลา 1 เดือน หลังจากปลูก การใสปุย
                  ให ใสปุยหินฟอสเฟต (0-3-0) อัตรา 250 กรัม/ตน รองกนหลุมตอนปลูก โดยใชดินชั้นบนผสมคลุกเคลา

                  กับปุยหินฟอสเฟต ใสรองกนหลุมแลวกลบหลุมใหเต็มดวยดินชั้นลาง เมื่อปาลมน้ํามันอายุระหวาง

                  1-4  ป  ใสปุยภายในวงกลม (รัศมี 1.5-2  เมตร) บริเวณที่กําจัดวัชพืชรอบโคนตน  อายุตั้งแต 5  ปขึ้นไป

                  ใสปุยหางจากโคนตน 50 เซนติเมตร จนถึงบริเวณปลายทางใบ  ในอัตรา 1-4 กิโลกรัม/ไร ขึ้นอยูกับ
                  ชวงอายุของปาลมน้ํามันผลผลิตเฉลี่ย 3,000 – 5,000 กิโลกรัม/ไร

                                1.3) ยางพารา เกษตรกรสวนใหญนิยมปลูกยางพาราสายพันธุ RRIM 600 ปลูกในชวงตน

                  ฤดูฝนประมาณเดือนมิถุนายนถึงเดือนพฤษภาคม มีวิธีการปลูกแบบขุดหลุมปลูก หลุมมีขนาด
                   50 x 50 x 50 เซนติเมตร มีระยะระหวางตน 2.5 เมตร ระยะระหวางแถว 7-8 เมตร มีปริมาณ 80-91 ตน/ไร

                  วิธีการดูแลรักษามีการใสปุยดวยกัน 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 ตนฤดูฝนประมาณพฤษภาคม – มิถุนายน ใสปุยสูตร

                   16-11-14 ครั้งที่ 2  ปลายฤดูฝนประมาณเดือนตุลาคมใสปุยสูตร 16-11-14  มีอัตราการใชตนละประมาณ
                  500-600 กรัม/ไร ยางพาราสามารถเปดกรีดได เมื่ออายุประมาณ 7 ป เปดหนายางชวงเดือนตุลาคมเปนตนไป

                  นิยมใชแรงงานคนเปนหลักในการเก็บเกี่ยว ผลผลิตเฉลี่ย  200-300 กิโลกรัม/ไร

                              1.4)  ไมผลผสม เกษตรกรนิยมปลูกไมผลผสมในพื้นที่เดียวกันโดยสวนใหญนิยม
                  ปลูกเงาะ ลองกอง ทุเรียน โดยขุดหลุมปลูกขนาดของหลุม กวาง-ยาว-ลึก ประมาณ 50-100 เซนติเมตร แลวนํา






                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113