Page 88 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองนาทวี
P. 88

3-32





                             ความชันของพื้นที่สามารถตรวจวัดได้ในสนามด้วยเครื่องมือวัดความลาดเอียง เช่น เครื่อง Abney

                  ข้อมูลแผนที่เส้นชั้นความสูง ที่มีเส้นความสูงห่างชั้นละ 2 ฟุต สามารถใช้ค้านวณค่าความชันได้หากกระท้า

                  อย่างรอบคอบ การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความชันกับการสูญเสียดินในแปลงทดลอง ช่วยให้พัฒนา
                  สมการคณิตศาสตร์เพื่อค้านวณค่าปัจจัยความชัน หรือ S-factor  ส้าหรับใช้ในสมการการสูญเสียดินสากล

                  ได้ ค่าปัจจัยความชัน คือ ตัวเลขแสดงสัดส่วนของการสูญเสียดินต่อหน่วยความชัน เป็นความสัมพันธ์

                  ระหว่างความชันต่อการชะล้างพังทลายแบบแผ่น (sheet erosion) และการชะล้างพังทลายแบบร่องริ้ว

                  (rill erosion)

                          สมการค านวณค่า S-factor
                          ใช้สมการ Wischmeier และ Smith (1978) ส้าหรับพื้นที่ลาดชัน 0-9 เปอร์เซ็นต์ คือ                                                        3-32

                                                       2
                             S  =  (0.43 + 0.30 s + 0.043 s ) / 6.613 หรือเขียนได้อีกอย่างหนึ่ง คือ
                          S  =  0.065 + 0.045 s + 0.0065 s
                                                          2
                             ใช้สมการแนะน้าโดย Meijerink (Huizing, 1992) ส้าหรับพื้นที่ลาดชันมากกว่า 9 เปอร์เซ็นต์ คือ

                             S  =  sin (slope degree) x cos (slope degree) หรือเขียนได้อีกอย่างหนึ่ง คือ
                                     0.75
                                                     0.75
                          S  =  6.4 (sin{atan (s/100)} ) (cos{atan (s/100)})
                             เมื่อ  S   คือ   ค่าปัจจัยความชัน

                             s  คือ เปอร์เซ็นต์ความชัน

                             การค านวณค่าเปอร์เซ็นต์ความชัน (s)
                          จากเอกสารของ กรมพัฒนาที่ดิน (2545) อธิบายวิธีการค้านวณเปอร์เซ็นต์ความชัน หรือ

                  ค่า s เพื่อใช้ในสมการค้านวณค่าปัจจัย S-factor ข้างต้น มีการน้าข้อมูลจากแหล่งต่างๆ มาใช้ และ

                  ศึกษาเปรียบเทียบค่าความชันที่ค้านวณได้ เพื่อพิจารณาเลือกแหล่งข้อมูลที่มีความถูกต้องเหมาะสม

                  ส้าหรับการจัดท้าแผนที่การสูญเสียดินมากที่สุด แหล่งข้อมูลที่น้ามาใช้มีดังนี้
                                1)  แผนที่สภาพภูมิประเทศ กรมแผนที่ทหาร มาตราส่วน 1:  50,000 มีเส้นชั้นความสูง

                  ห่างกันชั้นละ 100 และ 20 เมตรตามล้าดับ

                                2)  แผนที่หน่วยที่ดิน ซึ่งใช้ข้อมูลกลุ่มชุดดิน มาตราส่วน 1: 25,000 ปี พ.ศ. 2553 ของ
                  ส้านักส้ารวจและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน มาเป็นข้อมูลพื้นฐาน

                                ในการหาค่าอัตราการชะล้างพังทลายของดินและการท้าแผนที่ระดับการสูญเสียดิน

                  ใช้วิธีซ้อนทับแผนที่หน่วยที่ดิน แผนที่สภาพการใช้ที่ดิน และเส้นระดับปริมาณน้้าฝนรายปีเฉลี่ย ซึ่ง

                  จะทราบว่าค่าปัจจัยการสูญเสียดินในแต่ละพื้นที่ เพื่อค้านวณหาค่าอัตราการชะล้างพังทลายของดิน
                  และท้าแผนที่ระดับการสูญเสีย ซึ่งในการหาค่าอัตราการชะล้างพังทลายของดินและการท้าแผนที่

                  ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ Arc GIS ช่วยในการจัดท้าโดยมีแผนที่






                                                                        กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93