Page 81 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองนาทวี
P. 81

3-26





                  เป็นดินเหนียวเหนียวปนทรายแป้ง ปฏิกิริยาดินเป็นด่างเล็กน้อย มีศักยภาพก่อให้เกิดดินกรดก้ามะถัน

                  ซึ่งเป็นอันตรายต่อพืช มีความสามารถในการทรงตัวของต้นพืชต่้ามาก ท้าให้พืชล้มง่าย เมื่อดินแห้งจะแปรสภาพ

                  เป็นดินกรดก้ามะถันและเค็ม พบใน หน่วยที่ดินที่ 13/14 และ 13/14M
                                แนวทางการปรับปรุงแก้ไข ดินเลนเค็มชายทะเลไม่เหมาะสมต่อการเกษตรทุกประเภท

                  บริเวณพื้นที่ดินเสื่อมโทรม ควรปลูกป่าชายเลน และพื้นที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้้า ควรมีบ่อบ้าบัดน้้าเสีย

                  ก่อนปล่อยลงสู่ทางน้้าธรรมชาติ ส้าหรับป่าชายเลนควรสงวนไว้ให้เป็นแนวกันชนของลมและคลื่น
                  แหล่งเพาะพันธุ์ของสัตว์น้้า และเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ที่อยู่ในป่าชายเลน


                                2)  ดินเปรี้ยวจัด มีเนื้อที่ 6,364 ไร่ หรือร้อยละ 0.65  ของพื้นที่ลุ่มน้้า ประกอบด้วย
                  หน่วยที่ดินที่   14    14I    14M   และ  14MI  เป็นดินที่มีกรดจัดมากท้าให้เกิดการตรึงธาตุอาหารและ                                            3-26

                  ปลดปล่อยสารที่เป็นพิษต่อพืช เป็นดินเหนียวจัด การระบายน้้าไม่ดี โครงสร้างดินแน่นทึบ ดินแห้งแข็ง

                  และแตกระแหงท้าให้ไถพรวนยาก ขาดแคลนแหล่งน้้าจืด และน้้าท่วมขังในฤดูฝนท้าความเสียหายให้กับ
                  พืชที่ไม่ชอบน้้า


                                แนวทางการจัดการดินเปรี้ยวเพื่อปลูกข้าวปล่อยน้้าขังในนาแล้วระบายออก เพื่อล้างกรด
                  ออกจากดิน ใส่ปูนปรับปรุงอัตรา 0.5-1.5 ตันต่อไร่ ปลูกพืชตระกูลถั่วแล้วไถกลบในช่วงออกดอก ร่วมกับ

                  การใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 16-20-0 อัตรา 15 กิโลกรัมต่อไร่ รองพื้นและแต่งหน้าด้วยปุ๋ยยูเรีย 10 กิโลกรัมต่อไร่

                                แนวทางการจัดการดินเปรี้ยวเพื่อปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น ควรยกร่องสูง 50-80
                  เซนติเมตร หว่านปูนในหลุมปลูก 3-5 กิโลกรัม ใส่ปุ๋ยหมัก 25 กิโลกรัม  และควรควบคุมระดับน้้าใน

                  ร่องสวนให้มีน้้าขังตลอดปี
                                3)  หน่วยดินทรายจัด และดินค่อนข้างเป็นทราย  มีเนื้อที่ 191,219 ไร่ หรือร้อยละ 19.47

                  ของพื้นที่ลุ่มน้้า  ประกอบด้วย ดินทรายจัด ได้แก่ หน่วยที่ดินที่  23  23/43  23/43b  23I/43  23I/43b  23M

                  23M/43  23MI/43  43 และ 43b  ดินค่อนข้างเป็นทรายในพื้นที่ดอน ได้แก่ หน่วยที่ดินที่   39    39b  39gm
                  39gmb  39B  39Bb และ 39C ซึ่งมีสภาพพื้นที่เป็นพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ ถึงลูกคลื่นลอนลาด

                  การระบายน้้าของดินค่อนข้างเลว ความอุดมสมบูรณ์ของดินต่้า ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต่้า
                  ความอิ่มตัวด้วยด่างปานกลาง เนื้อดินบนเป็นดินทรายปนร่วน ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงกรดเล็กน้อย

                  (pH 5.5-6.5) เนื้อดินล่างเป็นดินร่วนปนทราย ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกลาง (pH 5.5-7.0)

                                แนวทางแก้ไข การใช้ประโยชน์ของพืชบริเวณนี้ คือ การเลือกชนิดพืชที่มีศักยภาพ
                  เหมาะสมมาปลูก มีการปรับปรุงบ้ารุงดินร่วมกับมีระบบการอนุรักษ์ดินและน้้า เช่น ในกรณีที่ปลูกพืชไร่

                  ควรจัดระบบการปลูกพืชให้หนุนเวียนตลอดทั้งปี ปรับปรุงดินด้วยปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก 3-4 ตันต่อไร่ หรือ

                  ไถกลบพืชปุ๋ยสด (ปอเทือง 6-8 กิโลกรัมต่อไร่ ไถกลบเมื่ออายุ 50-70 วัน ปล่อยทิ้งไว้ 1-2 สัปดาห์)
                  ร่วมกับการใช้ปุ๋ยอินทรีย์น้้าหรือปุ๋ยเคมี มีวัสดุคลุมดินหรือปลูกพืชเป็นแถบ พัฒนาแหล่งน้้าและ







                                                                        กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86