Page 120 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองนาทวี
P. 120

3-62





                                ปำล์มน ้ำมัน  ส้ารวจจ้านวน 2 หน่วยที่ดิน คือ หน่วยที่ดินที่ 34 และ39 พันธุ์ที่ปลูก

                  เป็นพันธุ์ลูกผสมเทเนอรา และสุราษฎร์ธานี-2 ปาล์มน้้ามันเป็นไม้ยืนต้นที่มีอายุการผลิตเกินกว่า 1 ปี

                  การวิเคราะห์ครั้งนี้ก้าหนดให้ปาล์มน้้ามันมีรอบอายุการผลิต 20 ปี การพิจารณาผลตอบแทนการผลิต

                  ปาล์มน้้ามัน จึงใช้มูลค่าปัจจุบันของรายได้เหนือต้นทุนผันแปรทั้งหมด (NPV)  อัตราส่วนของผลได้ต่อ
                  ต้นทุนผันแปร (B/C  Ratio)  ตลอดจนน้าต้นทุนผันแปรและรายได้ที่ค้านวณเป็นค่าปัจจุบันมา

                  พิจารณาร่วมด้วย ผลการวิเคราะห์พบว่าการปลูกปาล์มน้้ามัน ในหน่วยที่ดินที่ 34  และ39  ผลผลิต

                  เฉลี่ย 4,355.86  และ 3,683.16  กิโลกรัมต่อไร่ ตามล้าดับ รายได้ 12,794.76 และ  10,413.87 บาทต่อไร่

                  ตามล้าดับ ต้นทุนผันแปร 5,796.86  และ 5,349.05  บาทต่อไร่ ตามล้าดับ รายได้เหนือต้นทุนผันแปร
                  6,997.90  และ 5,064.82 บาทต่อไร่ ตามล้าดับ  และอัตราส่วนของรายได้ต่อต้นทุนผันแปรเท่ากับ 2.21                                                 3-62

                  และ 1.95 ตามล้าดับ จึงส่งผลให้ระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการปลูก

                  ปาล์มน้้ามัน อยู่ในระดับสูง (S1) และปานกลาง (S2) ตามล้าดับ
                                รายละเอียดผลการวิเคราะห์เพื่อประเมินความเหมาะสมของประเภทการใช้ประโยชน์

                  ที่ดินด้านเศรษฐกิจของการผลิตพืชบริเวณลุ่มน้้าสาขาคลองนาทวี แสดงในตารางที่ 3-15 ถึงตารางที่ 3-18

                  และตารางผนวก ข
                             2)  การพิจารณาทางเลือกการใช้ประโยชน์ที่ดิน

                               ส้าหรับทางเลือกการใช้ประโยชน์ที่ดินจากการวิเคราะห์ข้อมูลทางเศรษฐกิจบริเวณ

                  ลุ่มน้้าสาขาคลองนาทวีนั้น เนื่องจากบางหน่วยที่ดินเกษตรกรสามารถเลือกใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อผลิต

                  พืชได้หลายชนิด ดังนั้น เมื่อวิเคราะห์ตัวชี้วัด 4  ตัวแปร ได้แก่ รายได้ ต้นทุนผันแปรทั้งหมด รายได้
                  เหนือต้นทุนผันแปรทั้งหมด และอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนผันแปรทั้งหมด จากนั้นน้าผลวิเคราะห์ตัวแปร

                  ดังกล่าวไปจัดระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน และอาจพิจารณาทางเลือก

                  จากระดับคุ้มทุนการผลิตได้อีกด้วย สรุปดังนี้

                                (1)  การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทเดียวกันในหน่วยที่ดินต่างกัน
                                      เขตเกษตรน ้ำฝน

                                      ยำงพำรำ ปลูกในหน่วยที่ดินที่ 34 และ 39 พบว่า  ในหน่วยที่ดินที่   34  มี

                  ระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับปานกลาง (S2)  และในหน่วยที่ดินที่ 39 มีระดับความ
                  เหมาะสมทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับเล็กน้อย (S3) แต่ในหน่วยที่ดินที่ 34  มีแนวโน้มว่าจะได้รับรายได้

                  เหนือต้นทุนผันแปรและอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนผันแปรสูงกว่าหน่วยที่ดินที่ 39

                                      ปำล์มน ้ำมัน  ปลูกในหน่วยที่ดินที่ 34 และ 39  พบว่า ในหน่วยที่ดินที่ 34  มี

                  ระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับสูง (S1) และในหน่วยที่ดินที่ 39  มีระดับความเหมาะสม








                                                                        กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125