Page 119 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองนาทวี
P. 119

3-61





                        3.2.2  การประเมินคุณภาพที่ดินด้านเศรษฐกิจ

                             การประเมินคุณภาพที่ดินด้านเศรษฐกิจ เป็นการวิเคราะห์สภาพการผลิตพืชแต่ละหน่วยที่ดิน

                  โดยพิจารณาจากการจัดการที่ดิน ปริมาณเงินลงทุนและรายได้เหนือต้นทุนผันแปรจากการใช้
                  ประโยชน์ที่ดิน ข้อมูลที่เป็นตัวแทนในการวิเคราะห์เป็นข้อมูลจากลุ่มน้้าสาขาคลองปะเหลียน ปีการผลิต

                  2556/57 โดยกลุ่มวางแผนทรัพยากรน้้าเพื่อการพัฒนาที่ดิน รวมกับข้อมูลที่มีอยู่เดิมของกลุ่มเศรษฐกิจที่ดิน
                  กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน ผลการประเมินคุณภาพที่ดินด้านเศรษฐกิจน้าไป

                  พิจารณาร่วมกับองค์ประกอบอื่นๆ เช่น ข้อมูลของหน่วยราชการที่เกี่ยวข้องตลอดจนผลการประเมิน
                  คุณภาพที่ดินด้านกายภาพ เพื่อก้าหนดทางเลือกที่เหมาะสมของประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินในแต่ละ

                  หน่วยที่ดิน แล้วน้าผลลัพธ์ที่ได้มาพิจารณาประกอบการวางแผน การใช้ที่ดิน ผลการวิเคราะห์จ้าแนกตาม

                  ประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ลุ่มน้้าสาขาคลองนาทวี ดังนี้
                             1) การประเมินต้นทุนและรายได้จากการผลิตพืช

                                เขตเกษตรน ้ำฝน  ส้ารวจจ้านวน 4 หน่วยที่ดิน คือ หน่วยที่ดินที่ 17 34 และ 39 ดังนี้

                                ข้ำวเจ้ำนำปี ส้ารวจจ้านวน 1 หน่วยที่ดิน คือ หน่วยที่ดินที่ 17 เกษตรกรปลูกข้าวเจ้านาปี

                  (นาด้า) พันธุ์เล็บนกปัตตานี ผลผลิตเฉลี่ย 341.67 กิโลกรัมต่อไร่ รายได้ 4,879.05 บาทต่อไร่ ต้นทุนผันแปร

                  4,119.98 บาทต่อไร่ รายได้เหนือต้นทุนผันแปร 759.07 บาทต่อไร่ และอัตราส่วนของรายได้ต่อต้นทุนผันแปร
                  เท่ากับ 1.18 จึงส่งผลให้ระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการปลูกข้าวเจ้านาปี

                  (นาด้า) พันธุ์เล็บนกปัตตานี อยู่ในระดับเล็กน้อย (S3)

                                ยำงพำรำ ส้ารวจจ้านวน 2 หน่วยที่ดิน คือ หน่วยที่ดินที่ 34 และ 39 พันธุ์ที่ปลูกเป็น
                  พันธุ์ RRIM  600  ซึ่งเกษตรกรส่วนใหญ่ในพื้นที่ลุ่มน้้าจะเก็บผลผลิตขายในรูปน้้ายางพารา โดยจะ

                  ค้านวณเป็นน้้าหนักเนื้อยางแห้ง ยางพาราเป็นไม้ยืนต้นที่มีอายุการผลิตเกินกว่า 1 ปี การวิเคราะห์ครั้งนี้

                  ก้าหนดให้ยางพารามีรอบอายุการผลิต 25 ปี การพิจารณาผลตอบแทนการผลิต จึงใช้มูลค่าปัจจุบันของ
                  รายได้เหนือต้นทุนผันแปรทั้งหมด (NPV)  อัตราส่วนของผลได้ต่อต้นทุนผันแปร (B/C  Ratio)

                  ตลอดจนน้าต้นทุนผันแปรและรายได้ที่ค้านวณเป็นค่าปัจจุบันมาพิจารณาร่วมด้วย ผลการวิเคราะห์

                  พบว่าการปลูกยางพารา ในหน่วยที่ดินที่ 34 และ 39 ผลผลิตเฉลี่ยระหว่าง 244.59 และ 163.24 กิโลกรัมต่อไร่

                  ตามล้าดับ  รายได้ระหว่าง 10,059.05  และ 6,734.47 บาทต่อไร่ตามล้าดับ ต้นทุนผันแปรระหว่าง 6,453.80
                  และ 5,287.94  บาทต่อไร่ รายได้เหนือต้นทุนผันแปร 3,605.25 และ 1,446.53  บาทต่อไร่  และ

                  อัตราส่วนของรายได้ต่อต้นทุนผันแปรระหว่าง 1.56 และ 1.27  จึงส่งผลให้ระดับความเหมาะสมทาง

                  เศรษฐกิจของการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการปลูกยางพารา อยู่ในระดับปานกลาง (S2)  และระดับเล็กน้อย
                  (S3) ตามล้าดับ










                  แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้้าสาขาคลองนาทวี
   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124