Page 100 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองนาทวี
P. 100

3-42





                             3.1.2.2  น้ าใต้ดิน

                                    ก)  แหล่งน้ าใต้ดิน จากข้อมูลธรณีสัณฐานมาตราส่วน 1:1,000,000 กรม

                  ทรัพยากรธรณี (2556) น้ามาวิเคราะห์ชั้นน้้าที่พบในลุ่มน้้าสาขาคลองนาทวี รายละเอียดดังนี้

                                       (1) ชั้นหินอุ้มน้ าตะกอนน้ าพา (Floodplain Deposits Aquifers : Qfd)

                  ประกอบด้วยกรวดทรายทรายแป้งและดินเหนียวโดยชั้นน้้าบาดาลจะเก็บอยู่ในช่องระหว่างเม็ดกรวด
                  และเม็ดทรายที่สะสมตัวอยู่ในที่ราบลุ่มน้้าหลากหรือร่องน้้าเก่า ให้น้้าประมาณ 2–10 ลูกบาศก์เมตร/ชั่วโมง ที่

                  ระดับความลึกประมาณ 10-40 เมตร คุณภาพน้้าดี

                                      (2) ชั้นหินอุ้มน้ าตะกอนเศษหินเชิงเขา (Colluvium Aquifers : Qcl)
                  ประกอบด้วย ดินเหนียวปนทรายคลุกเคล้าปะปนด้วยเศษหินแตก (rock  fragments)  ที่มีลักษณะเป็น                                                      3-42

                  เหลี่ยมขนาดแตกต่างกันไปตั้งแต่ขนาดใหญ่จนถึงเล็กไม่มีการจัดคัดขนาดของเม็ดตะกอน ปริมาณ

                  น้้าอยู่ในเกณฑ์ระหว่าง 2-5 ลูกบาศก์เมตร/ชั่วโมง
                                       (3) ชั้นหินอุ้มน้ าตะกอนตะพักน้ ายุคเก่า (Older  terrace  deposits:  Qot)

                  ประกอบด้วยชั้นกรวดปนดินเหนียวหลายชั้น  สลับชั้นกลางด้วยดินเหนียว  หรือดินเหนียวปนทราย

                  โดยน้้าบาดาลถูกกักเก็บอยู่ในชั้นกรวดทราย  (gravel  beds)  และก่อตัวเป็นกลุ่มของชั้นน้้าบาดาล

                  (multi-aquifers) โดยมีการให้ปริมาณน้้ามากกว่า 40 ลูกบาศก์เมตร/ชั่วโมง
                                        (4)  ชั้นหินอุ้มน้ าหินชุดล าปาง  (Lampang  Aquifers;  TRlp)  ประกอบไปด้วย

                  หินทราย  หินทรายแป้ง  หินดินดาน  หินปูน  และหินกรวดมนภูเขาไฟ  น้้าบาดาลถูกกักเก็บอยู่ภายใน

                  รอยแตก  รอยแยก  รอยเลื่อน  และรอยต่อระหว่างชั้นหิน  พบกระจายตัวในเขตอ้าเภอจะนะ  อ้าเภอนาทวี

                  อ้าเภอสะเดา อ้าเภอเทพา และอ้าเภอสะบ้าย้อย
                                        (5)  ชั้นหินให้น้ าหินตะกอนกึ่งหินแปรยุคคาร์บอนิเฟอรัส (Carboniferous

                  Meta-sedimentary  Aquifer;  Cms)  ชั้นหินให้น้้าประกอบไปด้วย  หินดินดาน  หินทรายแป้ง  หินทราย

                  หินชนวน  หินฟิลไลต์ และหินควอร์ตไซต์ น้้าบาดาลกักเก็บอยู่ใน รอยแตก รอยแยก รอยเลื่อน และบริเวณ
                  ที่หินผุ พบในเขตอ้าเภอควนเนียง อ้าเภอบางกล่้า อ้าเภอรัตภูมิ อ้าเภอเมือง อ้าเภอหาดใหญ่  อ้าเภอคลอง

                  หอยโข่ง  อ้าเภอนาหม่อม  อ้าเภอจะนะ  อ้าเภอเทพา  อ้าเภอสะเดา และอ้าเภอสะบ้าย้อย

                                      (6) ชั้นหินอุ้มน้ าหินแกรนิต (Granitic Aquifers : Gr) ประกอบด้วย หิน
                  อัคนีแทรกซอนชนิดฮอร์นเบลนด์แกรนิต หินมัสโคไวต์ และไบโอไทต์แกรนิต เป็นหินเนื้อแน่นได้น้้า


                  2 – 4 ลูกบาศก์เมตร/ชั่วโมง จากแนวรอยแตกที่ความลึก  30 เมตร









                                                                        กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105