Page 99 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองบำบัง
P. 99

3-33





                  ภูมิประเทศ มาตราส่วน 1:25,000 เป็นฐานในการจัดท้าแผนที่ต่างๆ เช่น แผนที่สภาพการใช้ที่ดิน

                  หน่วยที่ดิน และระดับการสูญเสียดิน

                                ส้าหรับค่าปัจจัยสมรรถนะการชะล้างพังทลายของดิน (K) ค่าปัจจัยเกี่ยวกับภูมิประเทศ
                  ได้แก่ ความยาว (L) และระดับความลาดชัน (S) ค่าปัจจัยเกี่ยวกับฝน (R) ค่าปัจจัยการจัดการพืชและพืชพรรณ

                  ที่ปกคลุมดิน (C) และปัจจัยการอนุรักษ์ดินและน้้า (P) ตามสภาพการใช้ที่ดินลุ่มน้้าสาขาคลองบ้าบังใช้

                  การแทนค่าปัจจัยต่างๆ ในโปรแกรม Arc GIS โดยอ้างอิงค่าปัจจัยต่างๆ จากเอกสารของ กรมพัฒนาที่ดิน (2545) ใน

                  การวิเคราะห์หาค่าอัตราการชะล้างพังทลายของดินโดยใช้สมการการสูญเสียดินสากล ซึ่งรายละเอียดต่างๆ มีดังนี้
                                1)  ค่าปัจจัยเกี่ยวกับฝน (R) การประเมินค่าปัจจัยการชะล้างพังทลายของฝน ใช้เส้นชั้นน้้าฝน

                  รายปีเฉลี่ย (มิลลิเมตร) ของกรมอุตุนิยมวิทยามาค้านวณหาค่า R จากสูตร

                                             R  =   0.4996X – 12.1415

                                โดยที่    X  คือ ปริมาณน้้าฝนเฉลี่ยรายปี (มิลลิเมตร/ปี)
                                  จากสูตรค่า R ที่ได้จะมีหน่วยเป็นตันต่อเฮกแตร์ต่อปี ท้าการแปลงเป็นหน่วยตันต่อไร่

                  ต่อปี โดยน้าค่าตัวเลข 6.25 ไปหาร

                                2)  ค่าปัจจัยความคงทนของดินต่อการชะล้างพังทลาย (K)  ใช้ชนิดของเนื้อดินบน
                  และหน่วยธรณีวิทยา (กรมพัฒนาที่ดิน, 2545) รายละเอียดต่างๆ แสดงในตารางที่ 3-5

                            3)  ค่าปัจจัยเกี่ยวกับภูมิประเทศ ได้แก่ ความยาว (L)  และระดับความลาดชัน (S)

                  ใช้ค่าเฉลี่ยส่วนใหญ่ของหน่วยที่ดิน รายละเอียดต่างๆ แสดงในตารางที่ 3-4 (กรมพัฒนาที่ดิน, 2545)
                                4)  ค่าปัจจัยเกี่ยวกับพืช (C)  ใช้ค่าตัวเลขจากหนังสือแนวทางการประเมินอัตราชะล้าง

                  พังทลายของดินในพื้นที่ลุ่มน้้าประเทศไทย (กรมพัฒนาที่ดิน, 2545) รายละเอียดต่างๆ แสดงในตารางที่ 3-6

                                5)  ปัจจัยเกี่ยวกับการอนุรักษ์ดินและน้้า (P) ไม่มีมาตรการอนุรักษ์ให้มีค่าเท่ากับ 1 ยกเว้น

                  พื้นที่ท้านาข้าวให้มีค่าเท่ากับ 0.100 รายละเอียดต่างๆ แสดงในตารางที่ 3-6 (กรมพัฒนาที่ดิน, 2545)
                  ตารางที่  3-4  ค่าปัจจัยรวม LS-factor ของชั้นความลาดชันตามแผนที่หน่วยที่ดิน

                      ชั้นความลาดชัน      เปอร์เซ็นต์ความลาดชัน   ค่าความยาวของความลาดเท     ค่าปัจจัยรวม

                    ตามแผนที่หน่วยที่ดิน         (ค่า s)            (ค่า  หน่วยเป็นเมตร)    LS - factor
                   A                              1.2                       150                 0.226

                   B                              2.0                       150                 0.323
                   C                              5.0                       100                 0.567

                   D                              12.0                      50                  1.927
                   E                              20.0                      50                  2.753

                   F (กลุ่มดิน 62)                35.0                      50                  4.571
                  ที่มา : กรมพัฒนาที่ดิน (2545)





                  แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้้าสาขาคลองบ้าบัง
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104