Page 90 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองบำบัง
P. 90

3-26





                  ตารางที่ 3-2  สถานภาพทรัพยากรที่ดินลุ่มน้ าสาขาคลองบ าบัง


                                   สถานภาพทรัพยากรที่ดิน               หน่วยที่ดิน            ไร่   ร้อยละ

                        ดินที่ลุ่ม
                  ดินเหนียวลึกมากที่เกิดจากตะกอนล้าน้้า ปฏิกิริยาดินเป็นกลางหรือเป็นด่าง   5  5I  5M  5MI  7  7I  7M   17,226   6.78
                  ดินเหนียวลึกมากที่เกิดจากตะกอนล้าน้้า ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงกรดจัดมาก   6  6I  6M  6MI   18,835   7.40

                  ดินร่วนละเอียดลึกมากที่เกิดจากตะกอนล้าน้้า ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมาก   17  17I  17M  17MI   2,811   1.10
                  ดินร่วนละเอียดลึกมากที่เกิดจากตะกอนล้าน้้า ปฏิกิริยาดินเป็นกลางหรือเป็นด่าง  18  18I  18MI   1,958   0.76
                  ดินตื้นในพื้นที่ลุ่ม                                 25  25I  25M  25MI   7,174   2.82

                  ดินร่วนที่เกิดจากดินตะกอนน้้าพาเชิงซ้อน ชั้นดินมีลักษณะเป็นชั้นสลับ   59  59I  59M  59MI     1,179   0.46
                        ดินที่ดอน
                  ดินเหนียวลึกถึงลึกมากที่่เกิดจากตะกอนล้าน้้าหรือวัตถุต้นก้าเนิดดินเนื้อละเอียด   26  26b  26B  26C  26D    5,455   2.15
                                                                       26gm  26gmb
                  ดินร่วนหรือดินทรายแป้งละเอียดลึกมากที่เกิดจากตะกอนริมแม่น้้า   32  32b  32B     7,127   2.80

                  ดินร่วนละเอียดลึกถึงลึกมากที่เกิดจากตะกอนล้าน้้าหรือวัตถุต้นก้าเนิดดินเนื้อ  34  34B  34C  34gm    14,912   5.85
                  หยาบ                                                 34gmb
                  ดินตื้นถึงลูกรัง เศษหินหรือก้อนหิน                   45  45b  45B  45Bb  45C    8,225   3.23
                                                                       45D
                  ดินตื้นถึงชั้นหินพื้น                                51  51B  51Bb  51C  51D    18,703   7.36
                                                                       51E
                  ดินเหนียวลึกปานกลางถึงชั้นหินพื้น ลูกรังหรือเศษหิน   53B  53C             1,451   0.57
                  พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อนที่มีความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์   62         128,804   50.63

                  พื้นที่เบ็ดเตล็ด (U ,W, พื้นที่อื่นๆ)                 -                  20,534   8.09
                                          รวม                                             254,394   100.00

                  ที่มา  :  จากการวิเคราะห์ข้อมูลดินของส้านักส้ารวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน (2553ก, 2553ข) ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

                  ดินมีปัญหาหรือดินมีข้อจ ากัดในการเพาะปลูกพืชในพื้นที่ลุ่มน้ าสาขาคลองบ าบัง แสดงในตารางที่ 3-3
                  ประกอบด้วย

                                   1)  หน่วยที่ดินในกลุ่มดินตื้น มีเนื้อที่ 34,102 ไร่ หรือร้อยละ 13.41 ของพื้นที่ลุ่มน้้า

                  ประกอบด้วย ดินตื้นในพื้นที่ลุ่ม ได้แก่ 25  25I  25M  25MI ดินตื้นในพื้นที่ดอน ได้แก่  45  45b  45B
                  45Bb  45C  45D  51  51B  51Bb  51C  51D  51E  เป็นดินตื้นถึงชั้นลูกรัง มีเศษหิน ก้อนหินปะปนอยู่ใน

                  เนื้อดินตั้งแต่ร้อยละ 35 โดยปริมาตรหรือมากกว่า ภายในความลึก 50 เซนติเมตรจากผิวดิน หรือมีชั้นหิน
                  พื้นตื้นกว่า 50 เซนติเมตรจากผิวดิน ดินตื้นจะเป็นอุปสรรคต่อการชอนไชของรากพืชลงไปหาอาหาร

                  นอกจากนี้ยังมีส่วนที่เป็นดินน้อย ท้าให้มีความสามารถในการดูดซับธาตุอาหารและอุ้มน้้าต่้ามาก

                  พืชจะขาดน้้าท้าให้เหี่ยวเฉาไวกว่าพื้นที่อื่น






                                                                                                                                                          กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95