Page 58 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองบำบัง
P. 58

3-10





                  สมบูรณ์ต่้า บริเวณที่มีความลาดชันสูงอาจเกิดการชะล้างพังทลายของหน้าดินได้ง่าย ปัจจุบันบริเวณดังกล่าว

                  ใช้ปลูกไม้ยืนต้น และไม้ผล แบ่งเป็นหน่วยที่ดินต่างๆ คือ

                                    - หน่วยที่ดินที่ 53B สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีเนื้อที่ 1,008 ไร่
                  หรือร้อยละ 0.40 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                - หน่วยที่ดินที่ 53C สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาด มีเนื้อที่ 443 ไร่ หรือร้อยละ

                  0.17 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                (7)   หน่วยที่ดินที่ประกอบด้วยพื้นที่ภูเขาและเทือกเขาที่มีความลาดชันมากกว่าร้อยละ 35
                  พื้นที่บริเวณนี้ยังไม่มีการส้ารวจและจ้าแนกดิน ควรอนุรักษ์ไว้เป็นแหล่งต้นน้้าล้าธาร ได้แก่ หน่วยที่ดินที่ 62

                  (SC : พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน) มีเนื้อที่ 128,804  ไร่ หรือร้อยละ 50.63 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา


                             3)  หน่วยเบ็ดเตล็ด มีดังนี้
                            (1)   พื้นที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้้า (AQ) มีเนื้อที่ 342 ไร่ หรือร้อยละ 0.14 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                (2)   พื้นที่ดินตะกอนชวากทะเล (EC) มีเนื้อที่ 587 ไร่ หรือร้อยละ 0.23 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                            (3)   ที่ดินดัดแปลง (ML) มีเนื้อที่ 246 ไร่ หรือร้อยละ 0.10 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                (4)   บ่อขุด (P) มีเนื้อที่ 1,371 ไร่ หรือร้อยละ 0.54 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                            (5)   พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง (U) มีเนื้อที่ 15,638 ไร่ หรือร้อยละ 6.15 ของพื้นที่

                  ลุ่มน้้าสาขา
                                (6)   พื้นที่น้้า (W) มีเนื้อที่ 2,350 ไร่ หรือร้อยละ 0.93 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา






































                                                                        กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63