Page 43 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองปะเหลียน
P. 43
2-25
4) ปัญหาและความต้องการของเกษตรกรเกี่ยวกับการใช้ที่ดิน
(1) ปัญหาด้านการประกอบอาชีพการเกษตร
เกษตรกรในบริเวณพื้นที่ลุ่มน้้าสาขาคลองปะเหลียน ประสบปัญหาด้าน
การประกอบอาชีพการเกษตร ดังนี้ (ตารางที่ 2-17)
เกษตรกรที่เพาะปลูกข้าว ประสบปัญหาร้อยละ 88.89 ของเกษตรกรที่ส้ารวจการ
ปลูกข้าวทั้งหมด โดยทุกรายประสบปัญหาศัตรูพืชรบกวน รองลงมา ได้แก่ ปัจจัยการผลิตมีราคาสูง
ปริมาณผลผลิตต่้า ราคาผลผลิตตกต่้า และขาดแคลนน้้าเพื่อการเกษตร คิดเป็นร้อยละ 50.00
37.50 25.00 และ 25.00 ของเกษตรกรที่ประสบปัญหาในการปลูกข้าวทั้งหมด ตามล้าดับ ที่เหลือ
เป็นปัญหาด้านอื่นๆ แตกต่างกันไป
เกษตรกรที่เพาะปลูกยางพารา ทุกรายประสบปัญหาทั้งหมด โดยปัญหาส้าคัญที่
เกษตรกรส่วนใหญ่ประสบ คือ ฝนแล้ง/ทิ้งช่วง คิดเป็นร้อยละ 54.55 ของเกษตรกรที่ประสบปัญหาใน
การปลูกยางพาราทั้งหมด รองลงมา ได้แก่ ราคาผลผลิตตกต่้า โรคระบาด และศัตรูพืชรบกวน คิดเป็น
ร้อยละ 45.45 45.45 และ 36.36 ตามล้าดับ ที่เหลือเป็นปัญหาด้านอื่นๆ แตกต่างกันไป
เกษตรกรที่เพาะปลูกปาล์มน้้ามัน ทุกรายประสบปัญหาทั้งหมด โดยปัญหาที่
เกษตรกรทุกรายประสบ คือ ปัจจัยการผลิตมีราคาสูง และราคาผลผลิตตกต่้า รองลงมา ได้แก่ ศัตรูพืชรบกวน
ฝนแล้ง/ทิ้งช่วง ขาดแคลนแหล่งน้้าเพื่อการเกษตร คุณภาพผลผลิตตกต่้า โรคระบาด ผู้รับซื้อเอาเปรียบ
และวัชพืชรบกวน คิดเป็นร้อยละ 50.00 เท่ากัน ของเกษตรกรที่ประสบปัญหาในการปลูกปาล์มน้้ามัน
ทั้งหมด
เกษตรกรที่เพาะปลูกสวนผสม ทุกรายประสบปัญหาทั้งหมด โดยปัญหาที่
เกษตรกรทุกรายประสบ คือ ฝนแล้ง/ทิ้งช่วง รองลงมา ได้แก่ ราคาผลผลิตตกต่้า ปัจจัยการผลิตมีราคาสูง
ปริมาณผลผลิตต่้า ขาดแคลนน้้าเพื่อการเกษตร ขาดแคลนแหล่งน้้าเพื่อการเกษตร และผู้รับซื้อเอาเปรียบ
คิดเป็นร้อยละ 33.33 เท่ากัน ของเกษตรกรที่ประสบปัญหาในการปลูกสวนผสมทั้งหมด
แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้้าสาขาคลองปะเหลียน