Page 40 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองปะเหลียน
P. 40
2-22
(3) ด้านประมง
การเพาะเลี้ยงสัตว์น้้าจืดและสัตว์น้้าชายฝั่ง ปีการผลิต 2555 ในพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
คลองปะเหลียน ดังนี้ (ตารางที่ 2-15)
การเพาะเลี้ยงสัตว์น้้าจืด มีเนื้อที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้้าจืดรวม 2,033 ไร่ ปริมาณ
สัตว์น้้าที่จับได้ 1,137,378 กิโลกรัม เฉลี่ย 559 กิโลกรัมต่อไร่ ชนิดสัตว์น้้าที่เพาะเลี้ยง ได้แก่ ปลาช่อน
ปลาดุก ปลาหมอ ปลานิล ปลาไน และปลาตะเพียน เป็นต้น การเพาะเลี้ยงสัตว์น้้า พบว่า เกษตรกร
ส่วนใหญ่เลี้ยงปลาเพื่อยังชีพ ยกเว้นอ้าเภอย่านตาขาวที่เกษตรกรเลี้ยงปลาเพื่อการค้า
การเพาะเลี้ยงสัตว์น้้าชายฝั่ง มีเนื้อที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้้าชายฝั่งรวม 7,507 ไร่
ปริมาณสัตว์น้้าที่จับได้ 19,073,670 กิโลกรัม เฉลี่ย 2,541 กิโลกรัมต่อไร่ ชนิดสัตว์น้้าที่เพาะเลี้ยง คือ
กุ้งทะเล การเพาะเลี้ยงสัตว์ พบว่า เกษตรกรเลี้ยงเพื่อการค้า
ตารางที่ 2- 15 การเพาะเลี้ยงสัตว์ในพื้นที่ลุ่มน้ าสาขาคลองปะเหลียน ปีการผลิต 2555
จังหวัด การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า
จ านวน ปริมาณสัตว์น้ าที่จับได้ ปริมาณสัตว์น้ า/เนื้อที่
เนื้อที่ (ไร่)
อ าเภอ ครัวเรือน (กิโลกรัม) (กิโลกรัม/ไร่)
การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าจืด
ตรัง
กันตัง 185 128 62,041 485
นาโยง 502 220 69,926 318
ปะเหลียน 66 57 1,310 23
เมืองตรัง 1,427 1,275 674,301 529
ย่านตาขาว 397 353 329,800 934
รวมทั้งลุ่มน้ า 2,577 2,033 1,137,378 559
การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าชายฝั่ง
ตรัง
กันตัง 275 4184 10,802,010 2,582
ปะเหลียน 158 2,042 4,648,700 2,277
ย่านตาขาว 67 954 1,600,000 1,677
หาดส าราญ 70 327 2,022,960 6,186
รวมทั้งลุ่มน้ า 570 7,507 19,073,670 2,541
ที่มา : ส้านักงานประมงจังหวัดตรัง (2555)
กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน