Page 146 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองปะเหลียน
P. 146

3-78





                                ข้าวนาปี (นาด า) พันธุ์เล็บนกปัตตานี พบปลูกในพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ

                  เช่น หน่วยที่ดินที่ 6 และ 17 ซึ่งข้าวนาปีที่ปลูกในหน่วยที่ดินที่ 6 และ 17 นี้ มีความเหมาะสมทางกายภาพ

                  ปานกลางเนื่องจากข้อจ้ากัดด้านความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร  และความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร

                  แต่มีความเหมาะสมทางเศรษฐกิจระดับเล็กน้อย ความเหมาะสมของที่ดินรวมของข้าวนาปี (นาด้า)
                  พันธุ์เล็บนกปัตตานี ที่ปลูกในหน่วยที่ดินที่ 6 และ 17 จึงอยู่ในระดับความเหมาะสมเล็กน้อย


                                ยางพารา พบปลูกในพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ ถึงพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด เช่น

                  หน่วยที่ดินที่ 26 32 34 39 45B และ 53C
                                ความเหมาะสมทางทางกายภาพของยางพาราที่ปลูกในหน่วยที่ดินที่ 26  และ 32

                   อยู่ในระดับที่เหมาะสมสูง แต่ความเหมาะสมทางเศรษฐกิจระดับปานกลาง ความเหมาะสมรวม                                                               3-78

                   จึงอยู่ที่ระดับความเหมาะสมปานกลาง
                                ความเหมาะสมทางทางกายภาพของยางพาราที่ปลูกในหน่วยที่ดินที่ 34 อยู่ในระดับ

                   ที่เหมาะสมปานกลางเนื่องจากข้อจ้ากัดด้านความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร  และความเป็นประโยชน์

                   ของธาตุอาหาร และมีความเหมาะสมทางเศรษฐกิจระดับปานกลาง ความเหมาะสมรวมจึงอยู่ที่ระดับ
                   ความเหมาะสมปานกลาง

                                ความเหมาะสมทางทางกายภาพของยางพาราที่ปลูกในหน่วยที่ดินที่ 39 อยู่ในระดับ

                   ที่เหมาะสมปานกลางเนื่องจากข้อจ้ากัดด้านความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร  และความเป็นประโยชน์
                   ของธาตุอาหาร แต่มีความเหมาะสมทางเศรษฐกิจระดับเล็กน้อย ความเหมาะสมรวมจึงอยู่ที่ระดับ

                   ความเหมาะสมเล็กน้อย

                                ความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของยางพาราที่ปลูกในหน่วยที่ดินที่ 45B  อยู่ที่ระดับ

                   ปานกลาง แต่ความเหมาะสมทางทางกายภาพอยู่ในระดับที่เหมาะสมเล็กน้อยเนื่องจากข้อจ้ากัด
                   ด้านสภาวะการหยั่งลึกของราก ความเหมาะสมรวมจึงอยู่ที่ระดับความเหมาะสมเล็กน้อย

                                ความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของยางพาราที่ปลูกในหน่วยที่ดินที่ 53C อยู่ที่ระดับปานกลาง

                   และความเหมาะสมทางทางกายภาพของยางพาราที่ปลูกในหน่วยที่ดินนี้ อยู่ในระดับที่เหมาะสมปานกลาง

                   เนื่องจากข้อจ้ากัดด้านความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร และสภาวะ
                   การหยั่งลึกของราก ความเหมาะสมรวมจึงอยู่ที่ระดับความเหมาะสมปานกลาง


                                ปาล์มน้ ามัน พบปลูกในพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ เช่น หน่วยที่ดินที่ 26 32
                  และ 34 ซึ่งความเหมาะสมทางเศรษฐกิจและความเหมาะสมทางกายภาพของปาล์มน้้ามันที่ปลูกในดิน 26 คือ

                  ความเหมาะสมสูง ความเหมาะสมรวมของปาล์มน้้ามันที่ปลูกในหน่วยที่ดินที่ 26 จึงอยู่ที่ระดับ

                  ความเหมาะสมสูง







                                                                        กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151