Page 145 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองปะเหลียน
P. 145

3-77





                    3.2.3  การประเมินคุณภาพที่ดินรวม

                           การประเมินคุณภาพที่ดินรวม เป็นการน้าผลการประเมินคุณภาพที่ดินด้านกายภาพและ

                  เศรษฐกิจมาพิจารณาร่วมกัน โดยน้าคุณภาพที่ดินทั้งสองด้านมาประเมินร่วมกัน ทั้งนี้ค่าต่้าสุดถือเป็นค่า

                  ของคุณภาพที่ดินรวม การประเมินในครั้งนี้พิจารณาเฉพาะหน่วยที่ดินที่มีการประเมินคุณภาพที่ดินทาง
                  เศรษฐกิจเท่านั้น เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการตัดสินใจเสนอแนะทางเลือกการใช้ที่ดินหลักเกณฑ์ในการประเมิน

                  ระหว่างคุณภาพที่ดินด้านกายภาพ คุณภาพที่ดินด้านเศรษฐกิจ และคุณภาพที่ดินรวม แบ่งออกเป็น 4 ระดับ

                             1.  มีความเหมาะสมสูง (S1)
                             2.  มีความเหมาะสมปานกลาง (S2)

                             3.  มีความเหมาะสมเล็กน้อย (S3)

                             4.  ไม่มีความเหมาะสม (N)

                             การประเมินความเหมาะสมของที่ดินในพื้นที่ลุ่มน้้าสาขาคลองปะเหลียน ได้ประเมินความ
                  เหมาะสมของที่ดินรวม ในเขตชลประทาน และเขตเกษตรน้้าฝน รายละเอียดดังนี้

                             ความเหมาะสมของที่ดินรวมเขตชลประทาน

                             ประเภทการใช้ที่ดินในลุ่มน้้าที่ใช้ประเมินความเหมาะสมของในลุ่มน้้าสาขาคลองปะเหลียน
                  ในเขตชลประทาน มีเพียงพืชเดียว คือนาข้าว (ตารางที่ 3-20) โดยมีรายละเอียดดังนี้

                                ข้าวนาปี (นาด า) พันธุ์เล็บนกปัตตานี พบปลูกในพื้นที่ราบเรียบ เช่น หน่วยที่ดินที่ 6I

                  ซึ่งมีความเหมาะสมทางเศรษฐกิจระดับสูง และมีความเหมาะสมทางกายภาพสูงเช่นเดียวกัน

                  ความเหมาะสมของที่ดินรวมของข้าวนาปี (นาด้า) พันธุ์เล็บนกปัตตานี ที่ปลูกในหน่วยที่ดินที่ 6I จึงอยู่ใน
                  ระดับที่เหมาะสมสูง


                  ตารางที่ 3-20     ความเหมาะสมของที่ดินรวมส าหรับประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินชนิดต่างๆ

                                เขตชลประทานลุ่มน้ าสาขาคลองปะเหลียน

                                                                            ระดับความเหมาะสม
                  หน่วยที่ดิน      ประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน
                                                                  ทางกายภาพ  ทางเศรษฐกิจ        รวม

                      6I          ข้าวนาปี (นาด้า) พันธุ์เล็บนกปัตตานี   S1        S1            S1

                  ที่มา : จากการวิเคราะห์

                             ความเหมาะสมของที่ดินรวมเขตเกษตรน้ าฝน

                             ประเภทการใช้ที่ดินในลุ่มน้้าที่ใช้ประเมินความเหมาะสมของในลุ่มน้้าสาขาคลองปะเหลียน

                  ในเขตเกษตรน้้าฝน ได้แก่ ข้าวนาปี (นาด้า) พันธุ์เล็บนกปัตตานี ยางพารา และปาล์มน้้ามัน (ตารางที่ 3-21)

                  โดยมีรายละเอียดดังนี้





                  แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้้าสาขาคลองปะเหลียน
   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150