Page 99 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองละงู
P. 99

3-36





                  ได้ใช้ประโยชน์ร่วมกัน ถ้าเป็นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ควรด้าเนินการตามความเหมาะสม เช่น ปลูกป่าทดแทน

                  หรือจัดเป็นพื้นที่ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

                                ล้าดับความส้าคัญในการฟื้นฟูลุ่มน้้า ถ้าเข้าด้าเนินการฟื้นฟูเป็นรายลุ่มน้้าย่อยในลุ่มน้้า
                  สาขาคลองระงูโดยพิจารณาจากผลกระทบที่ประชากรในพื้นที่ลุ่มน้้าย่อยนั้น จะได้รับเป็นหลักว่า

                  โอกาสจะได้รับความเสียหายจากการเกิดการชะล้างพังทลายของดินมากน้อยเพียงไร ประกอบกับ
                  คุณภาพของที่ดินดีหรือไม่ มีที่รกร้างว่างเปล่ามากน้อยเพียงไร พื้นที่ลุ่มน้้าย่อยที่มีโอกาสเกิดการชะล้าง

                  พังทลายของดินสูง คุณภาพของดินไม่ดี และมีที่รกร้างว่างเปล่าที่ยังไม่ได้ใช้ประโยชน์จ้านวนมาก
                  พื้นที่ลุ่มน้้าที่มีลักษณะดังกล่าว จะเป็นลุ่มน้้าล้าดับต้นๆ ที่ควรเข้าไปด้าเนินการฟื้นฟูก่อน


                        3.1.2  ทรัพยากรน้ า                                                                                                                    3-36

                             3.1.2.1  ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ลุ่มน้ า
                                    ลักษณะทางกายภาพของลุ่มน้้าสาขาคลองละงูมีรูปร่างเป็นสี่เหลี่ยมมีค่า

                  สัมประสิทธิ์ความหนาแน่น Compactness  coefficient  (Kc)  เท่ากับ 1.8 และมีค่า  Form  Factor  (FF)

                  เท่ากับ 0.37 ดังแสดงในตารางที่ 3-8 โดยมีจุดสูงสุดของพื้นที่อยู่บริเวณในเขตต้าบลหนองธง อ้าเภอป่าบอน
                  จังหวัดพัทลุง มีความสูง 1,010 เมตรจากระดับน้้าทะเลปานกลาง จุดต่้าสุดของพื้นที่ลุ่มน้้าบริเวณพื้นที่

                  ต้าบลก้าแพง อ้าเภอละงู จังหวัดสตูล โดยทั่วไปของลุ่มน้้าเป็นพื้นที่ลุ่มรูปแบบของล้าน้้าเป็นแบบ

                  Dendric pattern มีลักษณะเป็นล้าธารแตกกิ่งก้านสาขาคล้ายเส้นใบของใบไม้ มีทิศทางไม่แน่นอน

                  ตารางที่ 3-8 ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ลุ่มน้ าคลองละงู


                                                   ความ
                   ความยาวเส้น  พื้นที่ลุ่ม ความยาว                    Compactness   Drainage   ความลาด
                                                              Form
                  ล้อมรอบลุ่มน้ า  น้ า   เฉลี่ย   กว้าง   Factor (FF)   coefficient   density    ชันของ
                                                   เฉลี่ย
                                    2
                      (km)       (km )    (km)                             (Kc)     กม./ตร.กม.   พื้นที่
                                                   (km)
                      189        843       48       34        0.37         1.8          2.0       29.3

                  หมายเหตุ : Drainage density     < 1 แสดงว่ามีการระบายน้้าเลว
                                                 1-5 แสดงว่ามีการระบายน้้าดีปานกลาง

                         :  Compactness coefficient    > 1 แสดงว่าเป็นพื้นที่ลุ่มน้้าไม่ใช่ลักษณะวงกลม
                            Form Factor          < 1 แสดงว่าพื้นที่ลุ่มน้้ามีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยม
                            Form Factor          > 1 แสดงว่าพื้นที่ลุ่มน้้ามีลักษณะคล้ายรูปพัด

                  ที่มา : จากการค้านวณ











                                                                        กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104