Page 100 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองละงู
P. 100

3-37





                           3.1.2.2 ปริมาณน้ าท่า

                                ปริมาณน้้าท่า เป็นปริมาณน้้าที่ไหลในล้าน้้าหรือล้าธาร ตามธรรมชาติจะขึ้นอยู่กับ

                  ขนาดพื้นที่ลุ่มน้้า ลุ่มน้้าที่มีขนาดใหญ่จะมีน้้าไหลจ้านวนมากและมักมีขนาดของล้าน้้าใหญ่ซึ่ง

                  ล้าน้้าเหล่านั้นจะพัฒนาให้มีความจุเพียงพอกับน้้าที่ลุ่มน้้าให้ โดยทั่วไปไม่ว่าลุ่มน้้าจะมีขนาดเท่าใด จะมี
                  ล้าน้้าหลักอยู่เพียงหนึ่งเท่านั้น ส่วนล้านี้ที่เป็นสาขาจะมีมากน้อยเพียงไร ขึ้นกับความคงทนของดิน

                  และหินตลอดจนลักษณะพืชคลุมดินของลุ่มน้้าเป็นส้าคัญ

                                จากการรวบรวมปริมาณน้้าท่ารายเดือนลุ่มน้้าสาขาคลองละงู พบว่ามีสถานีตรวจวัด
                  ปริมาณน้้าท่าทั้งหมด 2 สถานี ดังนี้

                                สถานีที่ 1 X.150  คลองละงู บ้านวังพระเคียน จังหวัดสตูลโดย ศูนย์อุทกวิทยาและ

                  บริหารน้้าภาคใต้ กรมชลประทาน (2555) เป็นการรวบรวมตั้งแต่ปี 2527 – 2556 พบว่า มีปริมาณ

                  น้้าท่าเฉลี่ยรายปี 659.51 ล้านลูกบาศก์เมตร เฉลี่ยสูงสุดอยู่ในเดือนตุลาคม มีค่า 107.98 ล้านลูกบาศก์เมตร
                  ปริมาณน้้าท่าเฉลี่ยต่้าสุดในเดือนกุมภาพันธ์ 17.76 ล้านลูกบาศก์เมตร

                                สถานีที่ 2 X.231A คลองละงู บ้านโกตา จังหวัดสตูล โดยศูนย์อุทกวิทยาและบริหาร

                  น้้าภาคใต้  กรมชลประทาน (2555) เป็นการรวบรวมในปี (2555)  พบว่า มีปริมาณน้้าท่าเฉลี่ยรายปี
                  1,493.04 ล้านลูกบาศก์เมตรเฉลี่ยสูงสุดอยู่ในเดือนกรกฎาคม มีค่า 180.46 ล้านลูกบาศก์เมตรปริมาณ

                  น้้าท่าเฉลี่ยต่้าสุดในเดือนเมษายน 88.90 ล้านลูกบาศก์เมตร ดังตารางที่ 3-9










































                  แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้้าสาขาคลองละงู
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105