Page 31 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองละงู
P. 31
2-15
ตารางที่ 2-9 พื้นที่ปลูก พื้นที่เก็บเกี่ยวและผลผลิตยางพารา ในพื้นที่ลุ่มน้ าสาขาคลองละงู
ปีการผลิต 2555 และ 2556
จังหวัด พื้นที่ปลูก (ไร่) อัตราการเปลี่ยนแปลง พื้นที่เก็บเกี่ยว (ไร่) อัตราการเปลี่ยนแปลง ผลผลิตเฉลี่ย (กก./ไร่) อัตราการเปลี่ยนแปลง
อ าเภอ 2555 2556 (ร้อยละ) 2555 2556 (ร้อยละ) 2555 2556 (ร้อยละ)
ตรัง
ปะเหลียน 285,326 283,215 -0.74 236,300 233,130 -1.34 276 263 -4.71
พัทลุง
ตะโหมด 102,827 102,827 - 74,083 74,083 - 267 250 -6.37
ป่าบอน 160,349 157,477 -1.79 125,614 124,694 -0.73 250 248 -0.80
สตูล
ควนกาหลง* 93,993 93,993 - 74,121 73,673 -0.60 248 248 -
ทุ่งหว้า* 56,425 57,316 1.58 41,730 42,167 1.05 197 197 -
มะนัง* 40,934 40,595 -0.83 26,243 23,210 -11.56 269 303 12.64
ละงู* 75,686 76,629 1.25 60,440 61,383 1.56 275 284 3.27
รวม/เฉลี่ย 815,540 812,052 -0.43 638,531 632,340 -0.97 255 256 0.62
หมายเหตุ : *ข้อมูลจังหวัดสตูล ปี 2556 เป็นข้อมูลเบื้องต้น
ที่มา : 1. ส้านักงานเกษตรจังหวัดตรัง และจังหวัดพัทลุง (2555-2556)
2. ส้านักงานเกษตรจังหวัดสตูล (2555)
3. กรมส่งเสริมการเกษตร (2556)
ปาล์มน้้ามัน ปีการผลิต 2555 พื้นที่ลุ่มน้้าสาขาคลองละงู จังหวัดสตูล พื้นที่
ปลูกปาล์มน้้ามัน 68,340 ไร่ และปริมาณผลผลิตเฉลี่ย 2,407 กิโลกรัมต่อไร่ เปรียบเทียบกับพื้นที่ปลูก
68,889 ไร่ และปริมาณผลผลิตเฉลี่ย 2,150 กิโลกรัมต่อไร่ ของปีการผลิต 2556 พบว่าพื้นที่ปลูกเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 0.80 ส่วนผลผลิตลดลงร้อยละ 10.69 ส้าหรับราคาปาล์มน้้ามันของภาคใต้ที่เกษตรกรขายได้ลดลง
จากราคาเฉลี่ย 4.89 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2555 เป็นราคา 3.55 บาทต่อกิโลกรัมในปี 2556 (ส้านักงาน
เศรษฐกิจการเกษตร, 2555 - 2556) หรือลดลงร้อยละ 27.40 เนื่องจากราคาปาล์มน้้ามันขึ้นอยู่กับ
เศรษฐกิจโลกและจากภาวะเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัวจึงส่งผลท้าให้ราคารับซื้อปาล์มน้้ามันลดลง
ดังกล่าว
แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้้าสาขาคลองละงู