Page 30 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองละงู
P. 30
2-14
ตารางที่ 2-8 พื้นที่ปลูก พื้นที่เก็บเกี่ยวและผลผลิตข้าวนาปี ในพื้นที่ลุ่มน้ าสาขาคลองละงู
ปีการผลิต 2554/55 และ 2555/56
จังหวัด พื้นที่ปลูก (ไร่) อัตราการเปลี่ยนแปลง พื้นที่เก็บเกี่ยว (ไร่) อัตราการเปลี่ยนแปลง ผลผลิตเฉลี่ย (กก./ไร่) อัตราการเปลี่ยนแปลง
อ าเภอ 2554/55 2555/56 (ร้อยละ) 2554/55 2555/56 (ร้อยละ) 2554/55 2555/56 (ร้อยละ)
สตูล
ควนกาหลง* 1,332 920 -30.93 1,332 920 -30.93 443 373 -15.80
มะนัง* 40 40 - 40 40 - 350 400 14.29
ละงู* 12,695 12,695 - 12,695 12,695 - 427 350 -18.03
รวม/เฉลี่ย 14,067 13,655 -2.93 14,067 13,655 -2.93 407 374 -7.95
หมายเหตุ : *ข้อมูลจังหวัดสตูล ปี 2555/56 เป็นข้อมูลเบื้องต้น
ที่มา : 1. ส้านักงานเกษตรจังหวัดสตูล (2555)
2. กรมส่งเสริมการเกษตร (2556)
ยางพารา ปีการผลิต 2555 พื้นที่ลุ่มน้้าสาขาคลองละงู พื้นที่ปลูกยางพารา
ได้แก่ จังหวัดตรัง พัทลุง และสตูล 815,540ไร่ และปริมาณผลผลิตเฉลี่ย 255 กิโลกรัมต่อไร่
เปรียบเทียบกับพื้นที่ปลูก 812,052 ไร่ และปริมาณผลผลิตเฉลี่ย 256 กิโลกรัมต่อไร่ ของปีการผลิต 2556
พบว่าพื้นที่ปลูกลดลงร้อยละ 0.43 ส่วนผลผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.62 ส้าหรับราคายางพาราแผ่นดิบ ชั้น 3
ของภาคใต้ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากราคาเฉลี่ย 87.69 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2555 เป็นราคา
76.40 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2556 (ส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2555 - 2556) หรือลดลงร้อยละ 12.87
เนื่องจากราคายางพาราขึ้นอยู่กับเศรษฐกิจโลกและจากภาวะวิกฤตเศรษฐกิจโลกส่งผลให้การรับซื้อและ
การลงทุนชะลอตัว ท้าให้ความต้องการใช้ยางพาราลดลงและราคารับซื้อยางพาราปรับตัวลดลง
ดังกล่าว
กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน