Page 135 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองละงู
P. 135

3-72





                                    (4.2.4)   พื้นที่พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ หมายถึงพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ

                  ที่ได้อนุญาตให้ใช้ประโยชน์ร่วมกันระหว่างทรัพยากรป่าไม้และทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ เช่น

                  แหล่งน้้าและทรัพยากรธรณีเพื่อประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ พื้นที่ลักษณะนี้
                  ได้แก่ พื้นที่เขตแหล่งแร่ พื้นที่เขตระเบิดหินและย่อยหิน และพื้นที่อนุญาตให้ส่วนราชการและเอกชน

                  ใช้ประโยชน์ในกิจกรรมต่างๆ

                              (4.3)  เขตพื้นที่ป่าที่เหมาะสมต่อการเกษตร (Zone A) หมายถึงพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ

                  ที่มีสมรรถนะที่ดินเหมาะสมต่อการเกษตรหรือศักยภาพสูงในการพัฒนาด้านการเกษตรตามผลการจ้าแนก
                  สมรรถนะที่ดินของกรมพัฒนาที่ดิน รัฐสามารถพัฒนาความเป็นอยู่ของราษฎรได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้ง

                  ต้องไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ที่จะจ้าแนกให้เป็นเขตพื้นที่ป่าเพื่อการอนุรักษ์และเขตพื้นที่ป่าเพื่อเศรษฐกิจ                                           3-72

                  พื้นที่ลักษณะนี้ได้แก่

                                    (4.3.1)   พื้นที่ป่าที่มีสมรรถนะของดินเหมาะสมต่อการเกษตร
                                    (4.3.2)   พื้นที่ที่เหมาะสมต่อการเกษตรตามนัยมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับ

                  การก้าหนดชั้นคุณภาพลุ่มน้้าและการจ้าแนกเขตการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ป่าชายเลน

                             2)  มติคณะรัฐมนตรีเรื่องการก าหนดชั้นคุณภาพลุ่มน้ าและมาตรการการใช้ที่ดิน
                  ในเขตชั้นคุณภาพลุ่มน้ าต่างๆ

                                ชั้นคุณภาพลุ่มน้้าหมายถึงการแบ่งเขตพื้นที่ลุ่มน้้าตามลักษณะกายภาพและศักยภาพ
                  ทางอุทกวิทยาและทรัพยากรธรรมชาติเพื่อประโยชน์การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ

                  ในลุ่มน้้านั้นๆ พื้นที่ทั้งหมดของลุ่มน้้าจะถูกจ้าแนกออกเป็น 5 ระดับมีลักษณะดังนี้
                                พื้นที่ลุ่มน้ าชั้นที่ 1 เป็นพื้นที่ลุ่มน้้าที่ควรสงวนไว้เป็นพื้นที่ต้นน้้าล้าธารโดยเฉพาะ

                  เนื่องจากว่าอาจมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินได้ง่ายและรุนแรง โดยมี

                  การแบ่งออกเป็น 2 ระดับชั้นย่อย คือ พื้นที่ลุ่มน้้าชั้นที่ 1 เอ ได้แก่ พื้นที่ต้นน้้าล้าธารที่ยังมีสภาพป่าสมบูรณ์
                  พื้นที่ลุ่มน้้าชั้นที่ 1 บี เป็นพื้นที่ที่สภาพป่าส่วนใหญ่ได้ถูกท้าลายดัดแปลงหรือเปลี่ยนแปลงเพื่อ

                  การพัฒนาหรือการใช้ที่ดินรูปแบบอื่นก่อน พ.ศ. 2525
                               พื้นที่ลุ่มน้ าชั้นที่ 2 เป็นพื้นที่ที่มีค่าดัชนีชั้นคุณภาพลุ่มน้้าตามที่การศึกษาเพื่อ

                  จ้าแนกชั้นคุณภาพลุ่มน้้าของแต่ละลุ่มน้้าได้ก้าหนดไว้ พื้นที่ดังกล่าวเหมาะต่อการเป็นต้นน้้าล้าธาร
                  ในระดับรองจากลุ่มน้้าชั้นที่1สามารถน้าพื้นที่ลุ่มน้้าชั้นนี้ไปใช้เพื่อประโยชน์ที่ส้าคัญอย่างอื่นได้ เช่น

                  การท้าเหมืองแร่ เป็นต้น

                                พื้นที่ลุ่มน้ าชั้นที่ 3 เป็นพื้นที่ที่สามารถใช้ประโยชน์ได้ทั้งการท้าไม้ เหมืองแร่
                  และการปลูกพืชกสิกรรมประเภทไม้ยืนต้น

                               พื้นที่ลุ่มน้ าชั้นที่ 4 โดยสภาพป่าของลุ่มน้้าชั้นนี้ได้ถูกบุกรุกแผ้วถางเป็นที่ใช้ประโยชน์

                  เพื่อกิจการพืชไร่เป็นส่วนใหญ่





                                                                        กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140