Page 11 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
P. 11

บทที่ 1

                                                         บทน า




                  1.1  หลักการและเหตุผล

                        ประเทศไทยมีการพัฒนาประเทศโดยใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ 1-10 ซึ่งการพัฒนา

                  เศรษฐกิจในระยะแรกมุ่งเน้นและเร่งฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมจนท้าให้การพัฒนาส่งผลกระทบต่อการผลิต
                  ภาคเกษตรกรรม ทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรมและให้บริหารทางสังคมไม่เพียงพอ ภาพรวม

                  โดยทั่วไปจึงท้าให้เศรษฐกิจของประเทศดีแต่สังคมมีปัญหา ประกอบกับการพัฒนาที่ไม่ยั่งยืน กระทั่ง

                  แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 จึงได้น้าหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงน้าทางในการพัฒนาประเทศ โดยให้
                  ความส้าคัญกับการพัฒนาที่สมดุลทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม ปัจจุบันประเทศไทยมีการ

                  พัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ซึ่งยังยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยให้คนเป็น

                  ศูนย์กลางการพัฒนา โดยสร้างความสมดุลของการพัฒนาในทุกมิติเพื่อบังเกิดผลในทางปฏิบัติ
                  โครงสร้างระบบภูมิคุ้มกันด้วยการบริหารจัดการความเสี่ยงให้พร้อมรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง

                  ทั้งภายนอกและภายในประเทศ

                        จากนโยบายการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ในส่วนของภาคเกษตรได้ให้

                  ความส้าคัญและน้าปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในทุกระดับอย่างกว้างขวาง จึง
                  ปรากฏผลชัดเจนว่าเกษตรกรสามารถก้าวพ้นภาวะหนี้สินจากการท้าการเกษตรเชิงพาณิชย์สู่เกษตร

                  ผสมผสาน ขณะที่ปัจจุบันปัจจัยหลักที่สร้างความเสียหายให้แก่ผลผลิตของภาคเกษตรกรรมคือ ปัญหา

                  ภัยธรรมชาติ ซึ่งเกิดจากการกระท้าของมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นการใช้ที่ดินผิดประเภทส่งผลให้มีการท้าลายป่า
                  ขาดการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติให้มีประสิทธิภาพจนเกิดภัยธรรมชาติ น้้าท่วม ดินถล่ม ภัยแล้ง

                        ลุ่มน้้าสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง มีเนื้อที่ 1,285,313 ไร่ สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่ เป็นพื้นที่สูงชัน

                  ร้อยละ 24.04 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา มีพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ ร้อยละ 19.23 ของพื้นที่

                  ลุ่มน้้าสาขา การเกษตรส่วนใหญ่ปลูกไม้ยืนต้นและไม้ผล ได้แก่ ยางพารา และปาล์มน้้ามัน ทั้งนี้ลุ่มน้้า
                  สาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง จึงจ้าเป็นต้องมีการจัดการทรัพยากรธรรมชาติให้เหมาะสม

                  เพื่อป้องกันปัญหาการเกิดภัยธรรมชาติ ดินถล่ม ซึ่งปัจจุบันพบว่าปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน

                  ในลุ่มน้้ายังไม่เป็นปัญหาใหญ่เนื่องจากยังคงมีสภาพป่าที่สมบูรณ์ หากยังไม่มีการจัดการที่ดีก็
                  อาจส่งผลกระทบต่อทรัพยากรมนุษย์และทรัพยากรธรรมชาติในอนาคต

                        จะเห็นได้ว่าแผนการใช้ที่ดินลุ่มน้้าสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง ซึ่งได้จัดท้าและก้าหนดขอบเขต

                  การใช้ประโยชน์ที่ดินและเขตป่าไม้เพื่อการอนุรักษ์ ให้สอดคล้องตามความเหมาะสมตามศักยภาพของ







                  แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้้าสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16