Page 177 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำบางนรา
P. 177

4-14





                                  5.  สงเสริมใหเกษตรกรรวมกลุมกันเพื่อพัฒนาองคความรูและสรางอํานาจ

                  การตอรองทางการตลาด ใหเกษตรกรมีความเขมแข็ง

                              2.3.3  เขตปลูกไมยืนตน (หนวยแผนที่ 234)

                                         มีพื้นที่ 58,474 ไร หรือรอยละ 5.66  ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา ลักษณะพื้นที่
                  คอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด เปนดินทรายจัด และดินตื้น มีขอจํากัดเรื่องการระบายน้ํา ดินมี

                  ความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติระดับต่ํา สภาพการใชที่ดิน เกษตรกรมีการปลูกไมยืนตน เชน ยางพารา

                  ปาลมน้ํามัน กาแฟ เปนตนโดยอาศัยน้ําฝนเปนหลัก จากการประเมินคุณภาพที่ดินทางกายภาพ
                  พบวา ดินมีความเหมาะสมเล็กนอยโดยมีขอจํากัดเรื่องความเปนประโยชนของธาตุอาหารและ

                  ขาดความชุมชื้นที่เปนประโยชนตอพืช

                                         แนวทางการพัฒนา

                                         1.  หนวยงานที่เกี่ยวของเรื่องการจัดการน้ําควรพัฒนาแหลงน้ําขนาดเล็ก
                  ในพื้นที่รวมถึงปรับปรุงประสิทธิภาพของแหลงน้ําตามธรรมชาติ เชน เหมือง ฝาย ใหสามารถกักเก็บน้ํา

                  ไดดีขึ้น

                                         2.  สงเสริมใหเกษตรกรปลูกไมยืนตน ใหเหมาะสมกับชวงระยะที่ดินมีความชื้น
                  เหมาะสมตอพืช คือ ระหวางเดือนเมษายนถึงเดือนพฤศจิกายน

                                         3.  ควรปรับปรุงคุณภาพของดินใหมีความอุดมสมบูรณโดยใชปุยวิทยาศาสตร

                  รวมกับปุยอินทรีย ตามความเหมาะสมของคุณภาพดิน
                                         4.  สงเสริมทางเลือกในการพัฒนาที่ดินโดยใหความรูเรื่องเกษตรผสมผสาน

                  ตามหลักแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม โดยการขุดบอเลี้ยงปลา ยกรองปลูกผัก ไมผลไมยืนตน รวมกัน

                                         5.  สงเสริมใหเกษตรกรรวมกลุมกันเพื่อพัฒนาองคความรูและสรางอํานาจ
                  การตอรองทางการตลาด

                                         6.  พื้นที่ลาดชันที่ทําการปลูกพืชควรสงเสริมใหมีการจัดระบบอนุรักษดิน

                  และน้ําในพื้นที่

                            2.3.4  เขตทุงหญา (หนวยแผนที่ 235)
                                มีพื้นที่ 12,249 ไร หรือรอยละ 1.18 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา สภาพพื้นที่มีลักษณะ

                  คอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด เปนดินลึกปานกลางถึงดินลึก การระบายน้ําดี มีความเหมาะสม
                  ทางกายภาพปานกลาง โดยมีขอจํากัดเรื่อง ปริมาณน้ําฝน ความอุดมสมบูรณของดินต่ํา เนื่องจาก

                  เกษตรกรทําการปลูกพืชไรตอเนื่องมาเปนเวลานาน










                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   172   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182