Page 174 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำบางนรา
P. 174

4-11





                  หากปลูกไมยืนตนก็ควรปลูกยางพาราและปาลมน้ํามัน เปนหลัก ปญหาหลักที่พบในเขตนี้ไดแก ปญหา

                  เรื่องปริมาณน้ําที่มากเกินไปในชวงฤดูฝนและดินมีความอุดมสมบูรณปานกลาง สามารถแบงเขตการใช

                  ที่ดินเพื่อการผลิตได 3 เขต ดังนี้
                                   2.2.1  เขตทํานา (หนวยแผนที่ 221)

                                         มีพื้นที่ 28,641 ไร หรือรอยละ 2.77 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา ดินมีความเหมาะสม

                  ทางกายภาพปานกลาง

                                         แนวทางการพัฒนา

                                  1.  หนวยงานที่เกี่ยวของเรื่องการจัดการน้ําควรพิจารณาแหลงน้ําขนาดเล็กใน
                  พื้นที่รวมถึงปรับปรุงประสิทธิภาพของแหลงน้ําตามธรรมชาติ เชน เหมือง ฝาย ใหสามารถกักเก็บน้ําไดดีขึ้น

                                  2.  ควรปรับปรุงคุณภาพของดินใหมีความอุดมสมบูรณ โดยใชปุย

                  วิทยาศาสตรรวมกับปุยอินทรีย ตามความเหมาะสมของคุณภาพดิน
                                  3.  สงเสริมทางเลือกในการพัฒนาที่ดินโดยใหความรูเรื่องเกษตร

                  ผสมผสานตามแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม โดยการขุดบอเลี้ยงปลา ยกรองปลูกผัก ไมผลยืนตน

                  รวมกัน
                                  4.  สงเสริมใหเกษตรกรรวมกลุมกันเพื่อผลักดันใหชุมชนมีโรงสีขาวเปนของ

                  กลุมและสรางอํานาจตอรองทางการตลาด

                                   2.2.2  เขตปลูกไมผล (หนวยแผนที่ 223)
                                  มีพื้นที่ 75,699 ไร หรือรอยละ 7.32 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา พืชที่ปลูกไดแก

                  ทุเรียน เงาะ สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด เปนดินลึกปานกลางถึงดินลึก มีความเหมาะสม

                  ทางกายภาพปานกลาง โดยมีขอจํากัดเรื่องความอุดมสมบูรณในดินมักพบอยูบริเวณริมน้ํา สามารถ
                  สูบน้ําขึ้นมาใชในชวงฤดูแลงได

                                  แนวทางการพัฒนา

                                  1.   สงเสริมใหมีการขยายเขตโครงการชลประทานในพื้นที่เกษตรกรรม

                                  2.   หนวยงานที่เกี่ยวของเรื่องการจัดการน้ําควรพิจารณาแหลงน้ําขนาดเล็ก

                  ในพื้นที่รวมถึงปรับปรุงประสิทธิภาพของแหลงน้ําตามธรรมชาติ เชน เหมือง ฝาย ใหสามารถกักเก็บน้ํา
                  ไดดีขึ้น

                                  3.  ควรปรับปรุงคุณภาพของดินใหมีความอุดมสมบูรณ โดยใชปุยวิทยาศาสตร

                  รวมกับปุยอินทรีย ตามความเหมาะสมของคุณภาพดิน
                                  4.  สงเสริมทางเลือกในการพัฒนาที่ดินโดยใหความรูเรื่องเกษตรผสมผสาน

                  ตามแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม โดยการขุดบอเลี้ยงปลา ยกรองปลูกผัก ไมผล และไมยืนตนรวมกัน





                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาแมน้ําบางนรา
   169   170   171   172   173   174   175   176   177   178   179