Page 160 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำบางนรา
P. 160

3-92





                         -              สงเสริมและพัฒนาเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรใหเขมแข็งเพื่อใหเกิดการ

                  พัฒนาการเกษตรที่ยั่งยืน

                         -              สงเสริมการทําการเกษตรตามแนวพระราชดําริ
                                      ยุทธศาสตรที่ 2 การพัฒนาการผลิต

                         -             เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตรเพื่อเพิ่มผลตอบแทนดานการเกษตรและ

                  ลดตนทุนทางการเกษตรโดยสงเสริมการผลิตพืชเศรษฐกิจสําคัญใหเหมาะสมกับพื้นที่

                         -             สรางมูลคาเพิ่มสินคาเกษตรโดยพัฒนาคุณภาพการผลิตและระบบตรวจสอบ
                  รับรองคุณภาพมาตรฐานสินคาเกษตร

                                      ยุทธศาสตรที่ 3 การพัฒนาปจจัยพื้นฐานและภารกิจสนับสนุน

                         -              เรงรัดฟนฟูเศรษฐกิจการเกษตร

                         -              พัฒนาปรับปรุงและขยายระบบชลประทาน
                         -              พัฒนาและฟนฟูทรัพยากรที่ดินและทรัพยากรประมง

                         -              บริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการปรับโครงสรางเศรษฐกิจภาคเกษตร

                                (2.2)  นโยบายการจัดการเรื่องพืชอาหารพลังงาน (ขาว ออย มันสําปะหลัง ปาลมน้ํามัน)
                  กระทรวงเกษตรและสหกรณมีนโยบายในการแบงเขตการเพาะปลูกระหวางพืชอาหารและพืชพลังงาน

                  อยางชัดเจนดังนี้

                           -            พืชอาหารที่สําคัญ เชน ขาวมีการปลูกในพื้นที่ลุมและพื้นที่ที่มีระบบชลประทาน
                           -           พืชพลังงานมีนโยบายเนนการรักษาระดับพื้นที่ปลูกสําหรับออยและมันสําปะหลัง

                  และใหขยายพื้นที่ปลูกสําหรับปาลมน้ํามันซึ่งพืชทั้ง 3 ชนิด ตองปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต

                  โดยเพิ่มผลผลิตตอไรดวยการใชพันธุดีและการใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี

                                (2.3)  นโยบายวิกฤตอาหารและพลังงานของโลก
                                      จากสถานการณวิกฤตอาหารและพลังงานของโลกในชวงกลางป 2551 สงผลกระทบ

                  ใหเกิดการขาดแคลนอาหารเกือบทั่วโลก จึงทําใหราคาสินคาเกษตรดานอาหารมีราคาสูงขึ้นตามไปดวย

                  แตสําหรับประเทศไทยมีศักยภาพการผลิตสินคาเกษตรที่เปนอาหารพอเพียงและมีเหลือสงออก

                  เลี้ยงประชากรโลกมาโดยตลอด แตปจจัยการผลิตโดยเฉพาะน้ํามันและปุยเคมีมีราคาสูงขึ้นในขณะที่
                  ราคาสินคาเกษตรขยับสูงขึ้นไมสมดุลกับตนทุนการผลิต รวมทั้งคาครองชีพที่เพิ่มขึ้นตลอดเวลาสงผล

                  ตอความเปนอยูของเกษตรกร ดังนั้นจึงจําเปนตองรักษาเสถียรภาพราคาสินคาเกษตรที่เปนอาหาร

                  เพื่อใหเกิดความเปนธรรมตอเกษตรกร กระทรวงเกษตรและสหกรณไดเตรียมมาตรการดําเนินการตางๆ
                  ตั้งแตการทําแผนการผลิตจนถึงการบริหารจัดการตนทุนโลจิสติกส (logistics) เพื่อรองรับกับวิกฤตการดังกลาว








                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164   165