Page 98 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำโกลก
P. 98

3-39





                  เกิดปญหาเกี่ยวกับการชะลางพังทลายขึ้น ทางระบายน้ํานี้อาจสรางขึ้นใหม หรือปรับปรุงจากรองน้ํา

                  ธรรมชาติก็ได

                                         (2.8)  บอน้ําในไรนา (Farm pond) ชวยในการเก็บกักน้ําที่ไหลบามาตามหนาดิน
                  รวมทั้งตะกอนที่ถูกชะลางไวเปนชวงๆ ไมใหเกิดผลเสียหายรุนแรงแกพื้นที่เพาะปลูก ตลอดจนแหลงน้ํา

                  อื่น ๆ นอกจากนั้นยังเปนการเก็บกักน้ําไวในชวงที่จําเปนอีกดวย

                                2)  พื้นที่จากสภาพการใชประโยชนที่ดิน ที่เปนไมพุมและทุงหญาตามธรรมชาติ
                  มีเนื้อที่ 22,090 ไร ถาเปนที่สาธารณประโยชน ควรปรับปรุงใหเปนทุงหญาเลี้ยงสัตว เพื่อเกษตรกร

                  ไดใชประโยชนรวมกัน ถาเปนที่ปาสงวนแหงชาติ ควรดําเนินการตามความเหมาะสม เชน ปลูกปาทดแทน

                  หรือจัดเปนพื้นที่ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
                                ลําดับความสําคัญในการฟนฟูลุมน้ํา ถาเขาดําเนินการฟนฟูเปนรายลุมน้ํายอยในลุมน้ํา

                  สาขาแมน้ําโกลกโดยพิจารณาจากผลกระทบที่ประชากรในพื้นที่ลุมน้ํายอยนั้น จะไดรับเปนหลักวา
                  โอกาสจะไดรับความเสียหายจากการเกิดการชะลางพังทลายของดินมากนอยเพียงไร ประกอบกับ

                  คุณภาพของที่ดินดีหรือไม มีที่รกรางวางเปลามากนอยเพียงไร พื้นที่ลุมน้ํายอยที่มีโอกาสเกิดการชะลาง
                  พังทลายของดินสูง คุณภาพของดินไมดี และมีที่รกรางวางเปลาที่ยังไมไดใชประโยชนจํานวนมาก

                  พื้นที่ลุมน้ําที่มีลักษณะดังกลาว จะเปนลุมน้ําลําดับตนๆ ที่ควรเขาไปดําเนินการฟนฟูกอน

                        3.1.2  ทรัพยากรน้ํา

                             3.1.2.1  ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ลุมน้ํา

                                    ลักษณะทางกายภาพของลุมน้ําสาขาแมน้ําโกลก มีรูปรางเปนรูปสี่เหลี่ยมมีคา

                  สัมประสิทธิ์ความหนาแนน Compactness coefficient (Kc)  เทากับ 2.1 และมีคา Form Factor  (FF)
                  เทากับ 0.28 ดังแสดงในตารางที่ 3-8 โดยมีจุดสูงสุดของพื้นที่อยูบริเวณในเขตตําบลริโก อําเภอสุไหง

                  ปาดี จังหวัดนราธิวาส มีความสูง 1,056 เมตรจากระดับน้ําทะเลปานกลาง จุดต่ําสุดของพื้นที่ลุมน้ํา

                  บริเวณพื้นที่ตําบลโฆษิต อําเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส โดยทั่วไปของลุมน้ําเปนพื้นที่ลุมรูปแบบ
                  ของลําน้ําเปนแบบ Dendric  pattern มีลักษณะเปนลําธารแตกกิ่งกานสาขาคลายเสนใบของใบไม

                  มีทิศทางไมแนนอน






















                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาแมน้ําโกลก
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103