Page 97 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำโกลก
P. 97

3-38





                  โดยการวิธีกลนี้เปนการปองกันการชะลางพังทลายไดทันที แตเสียคาใชจายสูง และในระหวางกอสราง

                  ตองพิถีพิถันทําใหดี มิฉะนั้นจะกอใหเกิดความเสียหายมากขึ้นไปอีก ซึ่งสามารถทําไดหลายวิธีคือ

                                         (2.1)  การปลูกพืชตามแนวระดับ (Control  cultivation)  ไดแก การไถพรวน
                  ปลูกและเก็บเกี่ยวพืชขนานไปตามแนวระดับ ขวางความลาดชันของพื้นที่ เหมาะที่จะใชในพื้นที่ที่มี

                  ความลาดชัน 2-7 เปอรเซ็นต

                                         (2.2)  การสรางคันดินกั้นน้ํา (Terracing)  เปนการสรางคันดินหรือรองน้ํา

                  ขวางความลาดชันของพื้นที่เพื่อลดความยาวของพื้นที่ที่รับน้ําฝนใหสั้นลง อยางไรก็ตามการที่จะให
                  คันดินกั้นน้ํามีประสิทธิภาพสูงในการปองกันการชะลางพังทลายของดินนั้นจะตองทําการปลูกพืช

                  ตามแนวระดับ และใชมาตรการอื่นๆ ผสมผสานไปดวย ชนิดของคันดินแบงเปน 2 แบบ คือ

                                            (ก)  คันดินขั้นบันได (Bench Terrace) ทําโดยการปรับพื้นที่ลาดชันให
                  เปนขั้นบันไดซึ่งนอกจากจะลดความยาวของความลาดชันของพื้นที่แลว ยังเปนลดการลาดชันของ

                  พื้นที่ลงอีกดวย ขั้นบันไดดินนี้สวนใหญใชกับพื้นที่ที่มีความลาดชันเกินกวา 18 เปอรเซ็นต ขึ้นไป

                  และดินตองเปนดินลึกไมนอยกวา 1 เมตร

                                            (ข)  คันดินกั้นน้ํา (Field Terrace) เปนการสรางคันดินและรองน้ําขวาง
                  ความลาดชันของพื้นที่เปนชวงๆ ซึ่งอาจจะเปนคันดินแบบลดระดับ (Graded terrace)  เพื่อชวยระบายน้ํา

                  หรือเปนแบบระดับ (Level) เพื่อชวยกักเก็บน้ําไว

                                         (2.3)  การปรับพื้นที่เฉพาะหลุม (Individual basin) เปนการปรับพื้นที่
                  เปนชวงๆ เฉพาะบริเวณหลุมปลูกตนไม เหมาะที่จะใชกับไมผล และไมยืนตนตางๆ ขนาดของหลุม

                  ยิ่งกวางมากก็ยิ่งมีประสิทธิภาพในการปองกันการชะลางของดินไดสูง

                                         (2.4)  คูรับน้ํารอบเขา (Hillside ditch)  เปนคูรับน้ําที่จัดทําขึ้นขวางความ
                  ลาดชันของพื้นที่เปนชวงๆ โดยมีระดับของรองน้ําลาดไปยังทางน้ําที่จัดทําขึ้นหรือบริเวณที่รับน้ําได

                  เชน ทุงหญาเลี้ยงสัตว หรือแปลงพืชคลุมหนาๆ

                                         (2.5)  คันดินเบนน้ํา (Diversion) เปนคันดินขนาดใหญที่สรางขึ้นเพื่อเบนน้ํา
                  เหนือพื้นที่ไมใหเขาไปรบกวนในไรนา ที่พักอาศัย ฯลฯ หรืออาจจะเบนน้ําไปลงอางเก็บน้ําก็ได

                                         (2.6)  เขื่อนกั้นรองน้ํา (Check dam) เปนสิ่งกอสรางขึ้นเพื่อปองกันการชะลาง

                  พังทลายแบบรองลึกโดยสรางขวางทางน้ําเปนชวงๆ ในรองน้ําที่เกิดการกัดเซาะ เพื่อชะลอความเร็ว

                  ของน้ํา ชวยใหเกิดการตกตะกอนทับถมในรองน้ํา ทําใหรองน้ําตื้นเขินสามารถนํามาใชประโยชน
                  ไดตอไป เขื่อนกั้นรองน้ํานี้อาจสรางดวยเศษไม ทอนไม หิน ดิน หรือคอนกรีตก็ได

                                         (2.7)  ทางระบายน้ํา (Waterway) สรางขึ้นเพื่อรับน้ําจากคันดินกั้นน้ํา คูรับน้ํา

                  รอบเขาหรือบริเวณระบายน้ําของอางเก็บน้ํา เพื่อควบคุมการไหลของน้ําไปยังที่กําหนดไว โดยไมให





                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102