Page 158 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง
P. 158

3-86





                             4)  พระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พุทธศักราช 2551 เหตุผลในการประกาศใช

                  พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือเนื่องจากพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พุทธศักราช 2526 ไดใชบังคับมาเปน

                  เวลานานแลวมีบทบัญญัติบางประการไมเหมาะสมกับสภาวการณในปจจุบัน และโดยที่ปจจุบันมีปญหา

                  ความเสื่อมโทรมของดินเพราะไมมีการอนุรักษดินและน้ําทําใหเกิดการชะลางพังทลายของดิน
                  กอใหเกิดความเสียหายตอเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งไมมีบทบัญญัติใหหนวยงานของรัฐสามารถ

                  เขาไปดําเนินการปองกันรักษาสภาพพื้นที่ที่มีความเสี่ยงตอการเกิดแผนดินถลมและเกิดการชะลาง

                  พังทลายของดินอยางรุนแรง และเพื่อใหการใชที่ดินเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน
                  สูงสุดสมควรกําหนดมาตรการทางกฎหมายที่เหมาะสมเกี่ยวกับการสํารวจความอุดมสมบูรณ

                  ของดินตามธรรมชาติ ความเหมาะสมแกการใชประโยชนที่ดินและการกําหนดการอนุรักษดินและ

                  น้ํา การวิเคราะหตรวจสอบตัวอยางดินหรือการปรับปรุงดินหรือที่ดิน ตลอดจนกําหนดมาตรการหาม

                  กระทําการใดๆ รวมถึงการทําใหที่ดินเกิดการปนเปอนของสารเคมีหรือวัตถุอื่นใด
                             ตามพระราชบัญญัติ “การพัฒนาที่ดิน”หมายความวาการกระทําใดๆ ตอดินหรือที่ดิน

                  เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพของดินหรือที่ดินหรือเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรใหสูงขึ้น

                  และหมายความรวมถึงการปรับปรุงดินหรือที่ดินที่ขาดความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติหรือ
                  ขาดความอุดมสมบูรณ เพราะการใชประโยชนและการอนุรักษดินและน้ําเพื่อรักษาดุลธรรมชาติ

                  หรือเพื่อความเหมาะสมในการใชที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

                      3.3.3  กฎหมายดานการจัดการสิ่งแวดลอม

                             กฎหมายนี้เกี่ยวของกับการใชทรัพยากรเพื่อใหการใชทรัพยากรเปนไปอยางถูกตองและ

                  เปนการอนุรักษทรัพยากรใหคงอยูอยางยั่งยืน

                             1)  พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พุทธศักราช 2535
                  มีความเกี่ยวของกับทรัพยากรธรรมชาติในทุกดานเพื่อใหมีการใชทรัพยากรตางๆ อยางถูกตองและสมดุล

                  แกไขความเสื่อมโทรมของทรัพยากรอันเนื่องมาจากการพัฒนาเศรษฐกิจของชาติที่เติบโตอยางรวดเร็ว

                  ซึ่งตองพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยางจํากัด พระราชบัญญัติฉบับนี้ไดกําหนดใหมีคณะกรรมการ

                  สิ่งแวดลอมแหงชาติขึ้นเพื่อกําหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมและกํากับดูแลใหมีการออกพระราชกฤษฎีกา
                  กฎกระทรวงขอบังคับ ขอบัญญัติทองถิ่น ประกาศระเบียบและคําสั่งที่จําเปนเพื่อใหกฎหมาย

                  มีความเปนระบบโดยสมบูรณ พระราชบัญญัติฉบับนี้ยังกําหนดมาตรฐานสิ่งแวดลอม เชนมาตรฐาน

                  คุณภาพแมน้ําลําคลอง มาตรฐานน้ําบาดาล มาตรฐานคุณภาพอากาศเสียง และสิ่งแวดลอมในเรื่องอื่นๆ
                  กําหนดหลักเกณฑในการทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมสําหรับโครงการ

                  หรือกิจการที่ตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมทั้งของสวนราชการและเอกชน

                  กําหนดเขตควบคุมมลพิษเพื่อใหดําเนินการควบคุมลดและขจัดมลพิษ นอกจากนี้ยังมีมาตรการสงเสริม




                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163