Page 19 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำสายบุรี
P. 19
2-5
2.4 สภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไปในลุมน้ําสาขาแมน้ําสายบุรี มีสภาพภูมิอากาศแบบมรสุมในเขตรอน
(Tropical monsoon Climate) ในรอบปหนึ่งๆ สามารถแบงได 2 ฤดู ดังนี้
ฤดูรอน เริ่มตั้งแตเดือนมีนาคมถึงกลางเดือนมิถุนายน มีอากาศรอนอบอาวและแหงแลง โดยจะ
รอนสุดในชวงเดือนเดือนเมษายนประมาณ 32.60 องศาเซลเซียส และมีอุณหภูมิเฉลี่ยเดือนเมษายน
ประมาณ 28.20 องศาเซลเซียส
ฤดูฝน เริ่มตั้งแตประมาณกลางเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม โดยตกหนักถึงหนักมากใน
บางครั้ง มีปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยประมาณ 2,754.70 มิลลิเมตร/ป
จากการรวบรวมขอมูลภูมิอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยา ณ สถานีตรวจวัดอากาศจังหวัดนราธิวาส
ในรอบ 10 ป (ชวงป พ.ศ. 2547-2556) ดังตารางที่ 2-2 ประกอบดวยอุณหภูมิสูงสุด อุณหภูมิต่ําสุด
อุณหภูมิเฉลี่ย ปริมาณน้ําฝน น้ําฝนใชการได ความชื้นสัมพัทธ ศักยภาพการคายระเหยน้ํา อธิบายไดดังนี้
1) อุณหภูมิ
พื้นที่ลุมน้ําสาขาแมน้ําสายบุรี มีอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดป 27.17 องศาเซลเซียส
มีคาเฉลี่ยสูงสุด 28.20 องศาเซลเซียส ในเดือนเมษายน และคาเฉลี่ยต่ําสุด 25.90 องศาเซลเซียส
ในเดือนธันวาคม
2) ปริมาณน้ําฝน
พื้นที่ลุมน้ําสาขาแมน้ําสายบุรี มีปริมาณน้ําฝน 2,754.70 มิลลิเมตร โดยในเดือนธันวาคม
มีปริมาณน้ําฝนมากที่สุด 613.00 มิลลิเมตร และเดือนกุมภาพันธมีปริมาณน้ําฝนนอยที่สุด คือ 68.20
มิลลิเมตร
3) ปริมาณน้ําฝนใชการได (Effective Rainfall : ER)
ปริมาณน้ําฝนใชการได คือ ปริมาณน้ําฝนที่เหลืออยูในดิน ซึ่งพืชสามารถนําไปใช
ประโยชนไดภายหลังจากมีการไหลซึมลงไปในดินจนดินอิ่มตัวดวยน้ําแลวไหลบาออกมากักเก็บใน
พื้นดินลุมน้ําสาขาแมน้ําบางนรา มีปริมาณน้ําฝนใชการได 1,490.90 มิลลิเมตร เดือนธันวาคมมี
ปริมาณน้ําฝนใชการไดมากที่สุด 186.30 มิลลิเมตร และเดือนกุมภาพันธมีปริมาณน้ําฝนใชการไดนอย
ที่สุด คือ 60.8 มิลลิเมตร
4) ความชื้นสัมพัทธและศักยภาพการคายระเหยน้ํา
พื้นที่ลุมน้ําสาขาแมน้ําสายบุรีพบวา มีความชื้นสัมพัทธเฉลี่ยตลอดป 81.08 เปอรเซ็นต
ปริมาณการคายระเหยเฉลี่ยตลอดป 108.27 มิลลิเมตร ปริมาณการคายระเหยสูงสุด 127.80 มิลลิเมตร ใน
เดือนเมษายน ปริมาณการคายระเหยต่ําสุด 84.63 มิลลิเมตร ในเดือนธันวาคม
5) การวิเคราะหชวงฤดูกาลที่เหมาะสมสําหรับปลูกพืชเศรษฐกิจ
แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาแมน้ําสายบุรี