Page 18 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำสายบุรี
P. 18

2-4






                  2.3  สภาพภูมิประเทศ


                        สภาพภูมิประเทศของลุมน้ําสาขาแมน้ําสายบุรี สามารถแบงเปน 3 ลักษณะไดอยางชัดเจน คือ
                  พื้นที่ตนน้ําบริเวณเขาสูง ซึ่งเปนสันปนน้ําทางดานทิศใต ดานทิศตะวันตกเฉียงใตและทิศตะวันออก

                  เฉียงใต ถัดมาเปนพื้นที่กลางน้ํา ซึ่งเปนพื้นที่ราบเชิงเขาบริเวณตอนกลางลุมน้ําตอเนื่องถึงพื้นที่ราบ

                  ทางตอนลาง ซึ่งสวนใหญเปนพื้นที่ราบสองฝงแมน้ําสายบุรี เปนพื้นที่สวนยางพารา สวนผลไมและ
                  นาขาว สวนพื้นที่บริเวณปากแมน้ําสายบุรีและบริเวณชายทะเล ซึ่งมีสภาพเปนน้ํากรอย ปาชายเลน

                  และพื้นที่พรุ จัดเปนพื้นที่ปลายน้ําเปนที่ตั้งของชุมชนสําคัญ 2 แหงคือ ชุมชน อําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี

                  และชุมชน อําเภอไมแกน จังหวัดนราธิวาส  สวนใหญเปนพื้นที่สูงชัน มีเนื้อที่คิดเปนรอยละ 40.99 ของ
                  พื้นที่ลุมน้ําสาขา  รองลงมาเปนพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย

                  พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด พื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน และพื้นที่เนินเขา โดยคิดเปนรอยละ  19.07 17.27 8.92

                  4.26  และ 3.27ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา ตามลําดับ และพื้นที่อื่นๆ มีเนื้อที่รอยละ 6.22 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                  มีความสูงจากระดับทะเลปานกลางประมาณ 23-1,327 มีแมน้ําสายบุรีเปนลําน้ําสายหลัก แมน้ําสายบุรี

                  มีลักษณะลุมที่เรียวยาวคลายขนนกมีตนกําเนิดทางทิศใต บริเวณเทือกเขาสันกาลาคีรีพรมแดนระหวาง

                  ประเทศไทยและประเทศมาเลเซียที่ อําเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส ไหลจากทิศใตขึ้นไปทิศเหนือ

                  ผาน อําเภอจะนะ อําเภอศรีสาคร อําเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส และไหลลงอาวไทยที่ ต.ตะลุบัน
                  อําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี มีความยาวของลําน้ําประมาณ 195 กิโลเมตร โดยมีคลองสาขาสายสั้นๆ

                  ไหลจากแนวสันปนน้ําทางดานทิศตะวันออกและ ทิศตะวันตกลงสูแมน้ําสายบุรีที่ตรงกลางพื้นที่ลุมน้ํา

                  คลองสาขาที่สําคัญของแมน้ําสายบุรีที่มีขนาดใหญจะอยูทางทิศเหนือใกลกับชายฝงทะเล ไดแก

                  คลองบีโฆ คลองสายบุรี คลองไมแกน คลองกอตอ คลองปะดอซา (รายละเอียดตารางที่ 2-1)
                  ตารางที่  2-1  ลักษณะภูมิประเทศลุมน้ําสาขาแมน้ําสายบุรี


                         ลักษณะสภาพพื้นที่       ความลาดชัน     ชนิดพืชพรรณสวนใหญ         เนื้อที่
                                                   (รอยละ)                              ไร     รอยละ
                  พื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ   0-2   นาขาว ไมยืนตน ไมผล ทุงหญา และปาไม   383,338   19.07
                  พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย      2-5     นาขาว ไมยืนตน ไมผล ทุงหญา และปาไม   347,151   17.27
                  พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด             5-12     ไมยืนตน ไมผล ทุงหญา และปาไม   179,329   8.92

                  พื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน             12-20    ไมยืนตน ไมผล ทุงหญา และปาไม   85,664   4.26
                  พื้นที่เนินเขา                    20-35    ไมยืนตน ไมผล ทุงหญา และปาไม   65,733   3.27
                  พื้นที่สูงชันหรือพื้นที่ลาดชันเชิงซอน   >35   ไมยืนตน ไมผล ทุงหญา และปาไม   823,894   40.99
                  พื้นที่อื่นๆ เชน พื้นที่ปา พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง พื้นที่น้ํา   124,999     6.22
                                                 รวม                                  2,010,108   100.00
                  ที่มา : จากการวิเคราะห









                                                                      สํานักนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23