Page 226 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองกระทือ ลำดับที่ พช.7 (2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำป่าสักส่วนที่ 3 (รหัส 1205) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12) พื้นที่ดำเนินการบ้านเขารวก หมู่ที่ 8 ตำบลกันจุ และบ้านวังไลย์ หมู่ที่ 1 ตำบลสระแก้ว อำเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 226

163


                                               (2.2) การปลูกไม้ผล หรือไม้ยืนต้น
                                               - ขุดหลุมปลูกขนาด 50x50x50 เซนติเมตร หรือ 75x75x75 เซนติเมตร

                  หรือถึงชั้นหินปรับปรุงหลุมปลูกด้วยปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกอัตรา 20-35 กิโลกรัมต่อหลุม ใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ย
                  อินทรีย์น้ าตามชนิดพืชที่ปลูก  ในช่วงการเจริญเติบโต  ก่อนและหลังการเก็บเกี่ยว  ถ้าดินเป็นกรดมาก

                  ปรับปรุงด้วยการใส่ปูนขาว อัตรา 3-5 กิโลกรัมต่อต้น บริเวณพื้นที่ลาดชันควรมีระบบการอนุรักษ์ดินและน้ า

                  ที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ เช่น ปลูกพืชปุ๋ยสด ปลูกพืชคลุมดิน วัสดุคลุมดิน ปลูกพืชแซม ในสภาพพื้นที่
                  ค่อนข้างราบเรียบถึงเป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย ส่วนสภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดถึงเป็นลูกคลื่นลอน

                  ชัน ควรเพิ่มมาตรการที่จะช่วยชะลอความเร็วในการไหลของน้ าโดย วิธีการสร้างคันดินการท าขั้นบันได ท าคู

                  น้ าขอบเขา ท าฐานปลูกหญ้าแฝกเฉพาะต้น เป็นต้น พัฒนาแหล่งน้ าจัดระบบให้น้ าในพื้นที่ปลูก
                                       (3)  ปัญหาใช้ที่ดินไม่เหมาะสมตามศักยภาพที่ดิน มีเนื้อที่ 470  ไร่ หรือร้อยละ

                  6.1079 ของพื้นที่ด าเนินการ เนื่องจากลักษณะของดินเป็นดินที่ดอน ดินมีการระบายน้ าดีถึงปานกลาง
                  เหมาะสมส าหรับการปลูกพืชไร่ ไม้ผล และไม้ยืนต้น แต่เกษตรกรได้มีการปรับสภาพพื้นที่โดยการท าคันนา

                  เพื่อกักเก็บน้ าและใช้ประโยชน์ที่ดินในการปลูกข้าว แต่เนื่องจากลักษณะและสมบัติของดินเป็นดินที่ดอน
                  และสภาพพื้นที่ไม่เหมาะสม อีกทั้งคันนาที่สร้างขึ้นมีขนาดเล็กท าให้อาจประสบปัญหาการขาดแคลนน้ า

                  ปริมาณน้ าไม่เพียงพอส าหรับการเจริญเติบโตของข้าว ได้แก่ หน่วยแผนที่ Ncu-clA/d ,E ,b
                                                                                        3 0
                                        แนวทางการแก้ไข
                                        เนื่องจากลักษณะและสมบัติของดินเป็นดินที่ดอน ไม่เหมาะสมส าหรับการปลูกข้าว

                  ดังนั้น พื้นที่บริเวณนี้ต้องมีการจัดการเป็นกรณีพิเศษเพื่อกักเก็บน้ าไว้ให้เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของข้าว

                  โดยก าหนดมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าด้วยวิธีกลเข้ามาด าเนินการ เช่น การปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 1
                  เพื่อปรับสภาพพื้นที่ที่เป็นผืนนาแปลงเล็กแปลงน้อยให้มีขนาดใหญ่ กว้าง ราบเรียบสม่ าเสมอและมีคันนา

                  สูงขึ้น และควรปรับปรุงบ ารุงดินให้ดีขึ้นด้วยการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ เช่น ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก อัตรา 2 ตันต่อไร่
                  ปลูกพืชปุ๋ยสดแล้วไถกลบลงดิน โดยใช้ร่วมกับปุ๋ยเคมีในอัตราส่วนที่เหมาะสมเพื่อเพิ่มธาตุอาหารพืช

                                       (4)  ปัญหาการกร่อนของดิน มีเนื้อที่ 2,132  ไร่ หรือร้อยละ 27.7062 ของพื้นที่
                  ด าเนินการ พื้นที่ที่มีการสูญเสียหน้าดินส่วนใหญ่มีความลาดชันตั้งแต่ 2  เปอร์เซ็นต์ขึ้นไป  ได้แก่ หน่วยแผนที่

                  Tl-clB/d ,E  Wi-clB/d ,E  Wi-lB/d ,E  Wi-br-clB/d ,E  และ Ws-clC/d ,E
                                                                                3 2
                                                               5 1
                                                4 1
                          3 1
                                      4 1
                                        แนวทางการแก้ไข
                                        ก าหนดให้มีมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าเพื่อป้องกันปัญหาการชะล้างพังทลายที่
                  ท าให้เกิดการสูญเสียหน้าดินและแร่ธาตุอาหารพืช โดยในพื้นที่ที่มีความลาดชันตั้งแต่ 2  ถึง 5  เปอร์เซ็นต์

                  มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าควรใช้วิธีพืช เช่น การปลูกพืชตามแนวระดับ หรือปลูกหญ้าแฝกเป็นแถวตาม
                  แนวระดับขวางความลาดเทของพื้นที่ การปลูกพืชสลับตามแนวระดับ การปลูกพืชคลุมดินหรือปลูกพืชไร่

                  เศรษฐกิจแซมระหว่างแถวของไม้ผลหรือไม้ยืนต้น นอกจากจะช่วยป้องกันการชะล้างแล้วยังช่วยรักษา
                  ความชื้นไว้ในดินได้อีกด้วย วิธีการเขตกรรม เช่น การไถพรวนขวางความลาดเท เป็นต้น ส่วนพื้นที่ที่มีความ

                  ลาดชันมากกว่า 5 เปอร์เซ็นต์ ควรใช้มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าในรูปแบบวิธีกลร่วมกับวิธีพืช เช่น การท า
   221   222   223   224   225   226   227   228   229   230   231