Page 224 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองกระทือ ลำดับที่ พช.7 (2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำป่าสักส่วนที่ 3 (รหัส 1205) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12) พื้นที่ดำเนินการบ้านเขารวก หมู่ที่ 8 ตำบลกันจุ และบ้านวังไลย์ หมู่ที่ 1 ตำบลสระแก้ว อำเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 224

161


                                7.3.10  สภาพปัญหา และข้อเสนอแนะในพื นที่ด าเนินการบ้านเขารวก หมู่ที่ 8 ต าบล
                  กันจุ และบ้านวังไลย์ หมู่ที่ 1 ต าบลสระแก้ว อ าเภอบึงสามพันจังหวัดเพชรบูรณ์

                                1)   ปัญหาทรัพยากรดินและแนวทางแก้ไข
                                    จากการศึกษาลักษณะและสมบัติของดินในบริเวณพื้นที่ด าเนินการ ได้ท าการ

                  วิเคราะห์ข้อมูลทรัพยากรดิน และสรุปปัญหาทรัพยากรดินในพื้นที่พร้อมทั้งแนวทางการแก้ไขปัญหาไว้ดังนี้

                  (ภาพที่ 30)
                                        (1)  ปัญหาดินตื นถึงชั นหินพื น  มีเนื้อที่ 980 ไร่ หรือร้อยละ 12.7356  ของพื้นที่

                  ด าเนินการ ชั้นของหินพื้น เป็นอุปสรรคต่อการชอนไชของรากพืช ท าให้พืชเจริญเติบโตได้ไม่ดีเท่าที่ควร

                                             (1.1) ดินตื้นถึงชั้นหินพื้น พบในพื้นที่ดอนเขตความชื้นดินแบบที่ดินแห้ง
                  ติดต่อกันนาน ได้แก่ หน่วยแผนที่ Li-sglD/d ,E  และ Li-sglE/d ,E
                                                      2 2
                                                                      2 3
                                            แนวทางการแก้ไข
                                            (1) การจัดการดินตื้นหรือตื้นมากถึงชั้นหินพื้น พบในพื้นที่ดอนเขตความชื้น

                  ดินแบบที่ดินแห้งติดต่อกันนาน
                                               (1.1) การปลูกพืชไร่

                                               - ควรมีการจัดระบบการปลูกพืชให้หมุนเวียนตลอดทั้งปี มีการปลูกพืช
                  บ ารุงดินร่วมอยู่ด้วยเลือกใช้พื้นที่ที่มีดินลึกปานกลาง มีหน้าดินหนามากกว่า 25 เซนติเมตร และไม่มีเศษหิน

                  หรือหินพื้นโผล่ และมีการไถพรวนน้อยที่สุดปรับปรุงดินด้วยการไถกลบพืชปุ๋ยสด หว่านเมล็ดถั่วพร้าอัตรา
                  10-12 กิโลกรัมต่อไร่ เมล็ดถั่วพุ่มอัตรา 8-10 กิโลกรัมต่อไร่ หรือปอเทืองอัตรา 6-8 กิโลกรัมต่อไร่ ไถกลบ
                  ระยะออกดอกปล่อยไว้ 1-2 สัปดาห์ ก่อนปลูกพืชไร่ หรือพืชผัก ร่วมกับการใช้ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกอัตรา
                  2-3 ตันต่อไร่ ใช้ปุ๋ยอินทรีย์น้ า  ร่วมกับปุ๋ยเคมีตามชนิดพืชที่ปลูกมีระบบการอนุรักษ์ดินและน้ าที่เหมาะสม

                  ตามสภาพพื้นที่ เช่น ไถพรวนและปลูกพืชตามแนวระดับ พื้นที่ที่มีความลาดชันมากกว่าร้อยละ 12 ควรไถ
                  พรวนให้น้อยที่สุดหรือไม่มีเลย ท าแนวรั้วหญ้าแฝก ปลูกพืชปุ๋ยสด ใช้วัสดุคลุมดิน ปลูกพืชหมุนเวียนหรือ
                  ปลูกพืชสลับเป็นแถบ เพื่อช่วยชะลอความเร็วของน้ าที่ไหลบ่าบนผิวดิน พัฒนาแหล่งน้ าและจัดระบบการให้
                  น้ าในพื้นที่ปลูก

                                               (1.2) การปลูกไม้ผลหรือไม้ยืนต้น
                                               - ขุดหลุมปลูกถึงชั้นหินหรือขุดหลุมขนาด 50x50x50 เซนติเมตร และ

                  ปรับปรุงหลุมปลูกด้วยหน้าดินที่ไม่มีเศษหินหรือก้อนหินร่วมกับปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกอัตรา  25-50 กิโลกรัม

                  ต่อหลุม ใช้ปุ๋ยเคมีตามชนิดพืชที่ปลูก  ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์  เมื่อไม้ผลมีขนาดใหญ่ขึ้น  ควรมีไม้ค้ ายันและเอา
                  หน้าดินบริเวณใกล้เคียงมาผสมกับปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกพูนโคนอยู่เป็นประจ า  เพื่อเสริมสร้างความแข็งแรง

                  ท าให้ไม่ล้มง่ายมีระบบอนุรักษ์ดินและน้ าที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่  เช่น  ปลูกพืชปุ๋ยสด  ปลูกพืชคลุมดิน
                  วัสดุคลุมดิน ปลูกพืช ท าฐานปลูกเฉพาะต้น พัฒนาแหล่งน้ าและจัดระบบการให้น้ าในพื้นที่ปลูก

                                        (2)  ปัญหาดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า  มีเนื้อที่ 679 ไร่ หรือร้อยละ 8.8239 ของ
                  พื้นที่ด าเนินการ เนื่องจากวัตถุต้นก าเนิดดินมีแร่ธาตุอาหารตามธรรมชาติน้อย ประกอบกับเกษตรกรมีการ

                  ใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างต่อเนื่องติดต่อกันเป็นเวลานาน โดยไม่ได้มีการปรับปรุงบ ารุงดินเท่าที่ควร ท าให้ดิน
   219   220   221   222   223   224   225   226   227   228   229