Page 78 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 78

56




                             2)   พื้นที่ลุมน้ําชั้น 1AR เปนพื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 1 ซึ่งมีสภาพเปนปาสมบูรณกอนป 2525

                  และมีสวนยางพาราปรากฏยูในแผนที่สวนยางของสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร ป 2529 โดยพื้นที่นี้

                  ควรสงวนรักษาไวเปนปาตนน้ําลําธาร (หามมีการใชประโยชนอยางอื่น) มีเนื้อที่ประมาณ 5,154 ไร หรือ
                  รอยละ 1.29 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                             3)   พื้นที่ลุมน้ําชั้น  1B  เปนพื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 1 ซึ่งสภาพปาถูก บุกรุก  หรือมีการ

                  เปลี่ยนแปลงไปเพื่อพัฒนาการใชที่ดินรูปแบบอื่น กอน ป 2525 โดยพื้นที่นี้ ควรสงวนรักษาไวเปน

                  ปาตนน้ําลําธาร และควบคุมการใชประโยชนเปนพิเศษ มีเนื้อที่ประมาณ  4,546 ไร หรือรอยละ  1.14
                  ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                             4)   พื้นที่ลุมน้ําชั้น  1BR  เปนพื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 1 ซึ่งสภาพปาถูก บุกรุก หรือมีการ

                  เปลี่ยนแปลงไปเพื่อพัฒนาการใชที่ดินรูปแบบอื่นกอน ป 2525 และมีสวนยางพาราปรากฏอยูในแผนที่
                  สวนยางของสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร ป 2529 โดยพื้นที่นี้ ควรสงวนรักษาไวเปนปาตนน้ํา

                  ลําธาร และควบคุมการใชประโยชนเปนพิเศษ มีเนื้อที่ประมาณ  1,412 ไร หรือรอยละ 0.35 ของพื้นที่

                  ลุมน้ําสาขา
                             5)   พื้นที่ลุมน้ําชั้น 2 เปนพื้นที่มีความลาดชันคอนขางสูง ซึ่งมีคุณภาพเหมาะสมตอการ

                  เปนปาตนน้ําลําธาร และสามารถนํามาใชประโยชนเพื่อกิจการที่สําคัญ เชน การทําเหมืองแร สวนยางพารา

                  หรือพืชที่มีความมั่นคงตอเศรษฐกิจ มีเนื้อที่ประมาณ  21,819 ไร หรือรอยละ  5.46 ของพื้นที่ลุมน้ํา

                  สาขา
                             6)   พื้นที่ลุมน้ําชั้น 3 เปนพื้นที่มีความลาดเทสูง  สามารถนํามาใชประโยชนไดทั้งกิจกรรม

                  ทําไม เหมืองแร และสามารถใชพื้นที่เพื่อการเกษตรไดโดยถาเปนบริเวณที่เปนดินลึกควรปลูกไมผล

                  หรือไมยืนตน แตถาเปนบริเวณที่เปนดินตื้นควรปลูกปาและทุงหญา มีเนื้อที่ประมาณ 25,199 ไร หรือรอยละ
                  6.30 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                             7)   พื้นที่ลุมน้ําชั้น 4 เปนพื้นที่มีความลาดชันต่ํา และปาถูกบุกรุกเปนพื้นที่ใชประโยชน

                  เพื่อกิจการทําไม เหมืองแร และสามารถใชพื้นที่เพื่อการเกษตรได โดยถาเปนบริเวณที่เปนดินลึก และ
                  มีความลาดชันมากควรปลูกไมผล แตถาเปนบริเวณที่มีความลาดชันนอยจะใชประโยชนเพื่อการปลูก

                  พืชไรได มีเนื้อที่ประมาณ 51,091 ไร หรือรอยละ 12.77 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                             8)   พื้นที่ลุมน้ําชั้น 5 เปนพื้นที่ราบลุม มีเนื้อที่ประมาณ  256,063 ไร หรือรอยละ 64.03

                  ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา











                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83