Page 77 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 77

55




                  ตารางที่ 10  (ตอ)


                                                                                           เนื้อที่
                                         เขตปาตามกฎหมาย
                                                                                       ไร      รอยละ
                  2.  เขตการใชประโยชนทรัพยากรและที่ดินปาไมในพื้นที่ปาสงวนแหงชาติ   15,452   3.86

                      - เขตปาเพื่อการอนุรักษ (โซน C)                                 5,035     1.26

                      - เขตปาเพื่อเศรษฐกิจ (โซน E)                                   10,416     2.60

                  3.  เขตปฎิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมในเขตปาสงวนแหงชาติ               14,298     3.58
                       - เขตปาเพื่อเศรษฐกิจ (โซน E)                                   7,077     1.77

                       - เขตพื้นที่ปาที่เหมาะสมตอการเกษตร (โซน A)                    7,221     1.81
                    หมายเหตุ : เนื้อที่ปาไมตามกฎหมายและปาตามมติคณะรัฐมนตรี คํานวณดวยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร


                  ที่มา :  กรมปาไม  (2553) และกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ( 2553) สํานักงานการปฏิรูปที่ดิน
                        เพื่อเกษตรกรรม (2556)



                      6.8.2     พื้นที่ปาอนุรักษตามมติคณะรัฐมนตรี

                               ตามมติคณะรัฐมนตรี  เรื่อง  การกําหนดชั้นคุณภาพลุมน้ํา เพื่อใหมีการอนุรักษ

                  ทรัพยากรที่เหมาะสมจึงไดแบงพื้นที่ชั้นคุณภาพลุมน้ําออกเปน 6 ชั้น คือ พื้นที่ลุมน้ําชั้น 1A พื้นที่ลุมน้ํา
                  ชั้น 1B พื้นที่ลุมน้ําชั้น 2 พื้นที่ลุมน้ําชั้น 3 พื้นที่ลุมน้ําชั้น 4 และพื้นที่ลุมน้ําชั้น 5 จากขอกําหนดการใช

                  ประโยชนและการจัดการพื้นที่ลุมน้ําชั้นคุณภาพตางๆ สรุปสาระสําคัญไดคือ  การใชประโยชนพื้นที่

                  ลุมน้ําชั้น 1 และพื้นที่ลุมน้ําชั้น 2 ซึ่งเปนพื้นที่ทรัพยากรธรรมชาติที่สําคัญที่ตองสงวนรักษาไวเปนแหลง
                  ตนน้ําลําธารและเปนพื้นที่ปาไมของประเทศ เนื่องจาก มีลักษณะและสมบัติที่อาจมีผลกระทบทาง

                  สิ่งแวดลอมจากการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดินไดงายและรุนแรง  ไมควรจะเปลี่ยนแปลงพื้นที่เพื่อใชทํา

                  การเกษตร สําหรับการใชประโยชนพื้นที่ลุมน้ําชั้น  3 4 และพื้นที่ลุมน้ําชั้น 5 นั้น ใหใชทําการเกษตร
                  ไดแตตองมีมาตรการตามขอกําหนดการใชประโยชนพื้นที่ลุมน้ํา ไดแก  มาตรการดานการอนุรักษดิน

                  และน้ํา และการปองกันการชะลางพังทลายของดิน เปนตน  ดังนั้นขอกําหนดตางๆ จึงมีมาตรการ

                  ที่เขมงวดแตกตางกัน เพื่อปองกันการเสื่อมโทรมของดิน และใหสามารถใชประโยชนที่ดินได

                  อยางยั่งยืนตอไป  พื้นที่ลุมน้ําสาขาคลองจันดี  ประกอบดวยชั้นคุณภาพลุมน้ําดังนี้  (ตารางที่ 11 และ
                  ภาพที่ 12)

                             1)   พื้นที่ลุมน้ําชั้น 1A เปนพื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 1 ซึ่ง มีสภาพเปนปาสมบูรณกอนป  2525

                  โดยพื้นที่นี้ควรสงวนรักษาไวเปนปาตนน้ําลําธาร (หามมีการใชประโยชนอยางอื่น) มีเนื้อที่ประมาณ
                  34,622 ไร หรือรอยละ 8.66 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา






                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82