Page 55 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 55

39




                         6.5.3   น้ําใตดิน

                               1) แหลงน้ําใตดิน

                                  จากแผนที่อุทกธรณีวิทยาประเทศไทย มาตราสวน 1 :100,000 ของกรมทรัพยากร
                  น้ําบาดาล (2544) ในพื้นที่ลุมน้ําสาขา คลองจันดี เปนชั้นหินอุมน้ําชนิดหินแข็ง  (Jointed  rocks)  โดย

                  น้ําใตดินจะเกิดในบริเวณที่เปนรอยแตก รอยแยก รอยเลื่อนของชั้นหินหรือ บริเวณที่เปนโพรงหรือ

                  บริเวณที่เปนหินผุหรือบริเวณที่เปนรอยตอของชั้นหิน โดยแบงไดดังนี้ (  ภาพที่ 8)
                                  (1) แหลงน้ําบาดาลในตะกอนหินรวน

                                     ตะกอนเศษหินเชิงเขา   (Colluvial  Deposits  Aquifer;  Qcl) มีเนื้อที่ประมาณ
                  53,283 ไร หรือรอยละ 13.32 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา ประกอบดวยกรวด ทราย และเศษหิน ซึ่งเกิดจาก

                  การผุพังของหิน และบริเวณที่เนื้อหินผุ ตะกอนเศษหินเชิงเขาจะรับน้ํา โดยตรงจากน้ําฝนที่ตกลงมา

                  คุณภาพน้ําดี ตะกอนเศษหินเชิงเขาพบในเกือบทุกพื้นที่ ความลึกของ น้ําบาดาลอยูในชวง 20-30 เมตร
                  มีปริมาณน้ําที่ไดอยูในเกณฑ 2-20  ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง  ซึ่งปริมาณน้ําที่ไดขึ้นอยูกับความหนา

                  ของชั้นตะกอน
                                  (2) แหลงน้ําบาดาลในหินตะกอนหินรวนกึ่งแข็งตัว (Semi-Consolidated Aquife : Tsc)

                  มีเนื้อที่ประมาณ  40 ไร หรือรอยละ  0.01 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา หินรวนกึ่งหินแข็งที่พบในจังหวัด

                  นครศรีธรรมราช ประกอบดวย หินโคลน หินทราย และถานหิน น้ําบาดาลถูกกักเก็บใน     รอยแตก
                  รอยแยก รอยตอระหวางชั้น และบริเวณที่หินผุ ปริมาณน้ําที่ไดอยูในเกณฑ 2-10 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง

                  สวนคุณภาพน้ําที่ไดในบริเวณหินตะกอนหินรวนกึ่งแข็งตัวนั้นอยูในเกณฑดีรสจืด ความลึกที่พัฒนา

                  น้ําบาดาลอยูในชวง 20-50 เมตร
                                  (3) แหลงน้ําบาดาลในหินแข็ง

                                     - หินโคราชตอนกลาง (Middle Khorat  Aquifers : Jmk) มีเนื้อที่ประมาณ 97,613 ไร
                  หรือรอยละ  24.41 ของ พื้นที่ลุมน้ําสาขา ประกอบดวยหินทราย หินทรายแปง หินดินดาน และ

                  หินกรวดมน ซึ่งน้ําบาดาลถูกกักเก็บอยูภายในรอยแตก รอยแยก รอยเลื่อน รอยตอระหวางชั้น และ

                  บริเวณที่หินผุ ความลึกของน้ําบาดาลอยูในชวง 20-40 เมตร ปริมาณน้ําที่ไดอยูในเกณฑ 2-10 ลูกบาศก
                  เมตรตอชั่วโมง ทั้งนี้ขึ้นอยูกับโครงสรางทางธรณีวิทยาและคุณภาพน้ําอยูในเกณฑดี

                                     - ชั้นหินใหน้ําลําปาง  (Lampang  Aquifers  :  TRlp) มีเนื้อที่ประมาณ 2,848  ไร
                  หรือรอยละ 0.71 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา ประกอบดวย หินทราย หินทรายแปง หินดินดาน หินปูน และ

                  หินกรวดมนภูเขาไฟ น้ําบาดาลจะถูกกักเก็บอยูภายในรอยแตก รอยแยก รอยเลื่อน และรอยตอ

                  ระหวาง ชั้นหิน ความลึกที่ของน้ําบาดาลประมาณ  20-40 เมตร บางบริเวณที่อยูที่สูงจะลึกมากกวานี้
                  ปริมาณน้ําบาดาลที่พัฒนาไดจากชั้นหินใหน้ําอยูในเกณฑ 2-10 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง และคุณภาพน้ํา

                  อยูในเกณฑดี






                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60