Page 212 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 212

156






                  ควบคุมระบบนิเวศและการใชประโยชนที่ดินในแตละชั้นคุณภาพลุมน้ํา ซึ่งแตละชั้นคุณภาพมีลักษณะ

                  พื้นฐานดังนี้

                           1) พื้ นที่ลุมน้ําชั้น 1 หมายถึง พื้นที่มีสภาพเปนตนน้ําลําธารเปนแหลงน้ําฝนและใหน้ํา กับ
                  พื้นที่ตอนลาง พื้นที่ตอนบนมักมีความชันมาก ลักษณะดินที่งายตอการพังทลายเปนพื้นที่ซึ่งควรรักษา

                  ไวเพื่อเปนตนน้ําลําธารโดยเฉพาะ อาจจะรักษาในรูปของเขตรักษาพันธุสัตวปา อุทยานแหงชาติ ซึ่ง

                  ในสวนของพื้นที่ลุมน้ําชั้น 1 ยังแยกเปนชั้นยอยไดอีก 2 ระดับ โดยใช “สภาพปา” เปนตัวกําหนดคือ

                  “พื้นที่ลุมน้ําชั้น 1 เอ” จะมีสภาพปาที่ยังอุดมสมบูรณตามที่ปรากฏอยูในป พ.ศ. 2525 และเปนพื้นที่ที่
                  จะตองสงวนรักษาไวเปนพื้นที่ตนน้ําลําธาร และเปนทรัพยากรปาไมของประเทศ ในขณะที่

                  “พื้นที่ลุมน้ําชั้น 1 บี” จะมีสภาพปาสวนใหญถูกทําลาย ดัดแปลง หรือเปลี่ยนแปลงไปเพื่อพัฒนาการใช

                  ที่ดินรูปแบบอื่นกอนหนาป พ.ศ. 2525 และการใชที่ดินรูปแบบตางๆ ที่ดําเนินการไปแลวจะตอง
                  มีมาตรการควบคุมเปนพิเศษ

                       2)    พื้นที่ลุมน้ําชั้น 2 หมายถึง พื้นที่ลุมน้ําที่มีสภาพเปนพื้นที่ปาปองกัน ปาเพื่อการคาหรือ

                  ปาเศรษฐกิจ ปกติเปนพื้นที่บนที่สูง มีความลาดชันสูงมาก ดินมีประสิทธิภาพในการยึดเกาะกันสูงกวา

                  พื้นที่ลุมน้ําชั้นคุณภาพที่ 1 ลักษณะทั่วไปเหมาะสมตอการเปนตนน้ําลําธารในระดับรองลงมา ควรสงวน
                  เก็บไวเปนพื้นที่แหลงตนน้ําลําธาร รักษาไวในรูปแบบของเขตรักษาพันธุสัตวปา อุทยานแหงชาติ

                  และอาจสามารถอนุญาตใหใชประโยชนเพื่อทํากิจการสําคัญบางอยางได เชน การทําเหมืองแร

                       3)    พื้นที่ลุมน้ําชั้น 3  หมายถึง สภาพลุมน้ําที่มีสภาพเปนเชิงเขา ความลาดชันสูง ดินมี
                  ลักษณะการพังทลายปานกลาง พื้นที่เหมาะสมเปนปาเศรษฐกิจ ทุงหญาเลี้ยงสัตว ปลูกไมผลยืนตน พืช

                  เกษตรยืนตนหรือการทําเหมืองแร แตตองมีมาตรการดานการอนุรักษดินและน้ําควบคูกันไปอยาง

                  เขมงวด
                       4)    พื้นที่ลุมน้ําชั้น 4  หมายถึง พื้นที่ลุมน้ําที่มีสภาพพื้นที่เนินราบ มีความลาดชันปานกลาง

                  สภาพปาสวนใหญถูกแผวถางเพื่อใชเปนพื้นที่ปลูกพืชไร กําหนดใหมีการปลูกพืชไร ไมผล และทํา

                  ทุงหญาเลี้ยงสัตวได สภาพพื้นที่คอนขางราบบางแหงอาจจะมีความลาดชันแตคอนขางนอย การพังทลาย
                  ของหนาดินคอนขางควบคุมไดงายโดยมีพืชคลุมดิน


                       5)     พื้นที่ลุมน้ําชั้น 5  หมายถึง สภาพพื้นที่เปนที่ราบถึงที่ราบลุม หรือบางแหงอาจจะเปน

                  เนินลาดเอียงเล็กนอย สวนใหญปาจะถูกบุกรุกแผวถางไปจนหมดแลวแปรสภาพที่ดินเปนพื้นที่
                  สําหรับทําเกษตรกรรมโดยเฉพาะการทํานา และกิจกรรมอื่นๆ และไมจําเปนตองมีมาตรการปองกันการ

                  ชะลางพังทลายของหนาดิน










                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   207   208   209   210   211   212   213   214   215   216