Page 211 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 211

155






                   13.2    ภาคผนวกที่ 2  การกําหนดชั้นคุณภาพลุมน้ํา

                           ประเทศไทยมีการกําหนดชั้นคุณภาพลุมน้ําหรือการแบงเขตพื้นที่ลุมน้ําตามลักษณะ

                  ศักยภาพทางอุทกวิทยา และทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู เพื่อประโยชนหลักในดานการจัดการ

                  ทรัพยากร และสภาพแวดลอมอยางมีประสิทธิภาพ หลักเกณฑประกอบการพิจารณาเพื่อกําหนดชั้น
                  คุณภาพลุมน้ําดังนี้

                        -   สภาพภูมิประเทศ ใชลักษณะของแผนดิน เชน แนวบริเวณสันเขา ยอดเขาแหลม ยอดเขา

                  มนหุบเขา หนาผา เชิงเขา บริเวณกัดลึก รองเขา ที่ราบขั้นบันได ที่ราบหรือที่ลุม ซึ่งเปนผลสืบเนื่อง
                  จากกระบวนการชะลางพังทลายในอดีตและมีผลตอการกําหนดการใชประโยชนที่ดิน

                        -   ความลาดชัน เปนศักยภาพที่เกี่ยวของกับกระบวนการชะลางและการสูญเสียหนาดิน เชน

                  ถาความลาดชันสูง โอกาสที่มีการพังทลายจะมาก ปริมาณการเคลื่อนยายของตะกอนดินก็มีมากตาม

                        -   ความสูงจากระดับทะเล โดยทั่วไปเมื่อความสูงจากระดับทะเลมีมาก ความลาดชันของพื้นที่
                  จะเพิ่มขึ้นดวยและมีปริมาณฝนตกมากและนานขึ้น ความสูงจากระดับทะเลจึงมีอิทธิพลตอการชะลาง

                  พังทลายของหนาดิน มีหนวยที่ยอมรับกันเปนสากลวาใหวัดจากระดับทะเลปกติแลวใชชื่อเรียกวา

                  ความสูงจากระดับทะเลปานกลางมีหนวยเปนเมตร
                        -   ลักษณะหิน โดยทั่วไปลักษณะของหินจะเกี่ยวโยงถึงการกําเนิดดินและคุณภาพของน้ําทา จึง

                  ใชชนิดของหิน อายุทางธรณีรวมทั้งคุณสมบัติที่จะแปรสภาพเปนดินที่มีความยากงายตอการถูกชะลาง

                  พังทลาย
                        -   ลักษณะดิน โดยทั่วไปดินมีความแตกตางกันไปทั้งดานเคมี ฟสิกส และชีววิทยาสัมพันธ

                  ตอการกําหนดชั้นคุณภาพลุมน้ํา ใชคุณสมบัติทางดินที่เกี่ยวกับความลึก ความอุดมสมบูรณ และความยาก

                  งายตอการชะลางพังทลายของชนิดดินที่ปรากฏเปนสวนใหญในพื้นที่นั้นๆ
                        -   สภาพของพืชพรรณและปาไม ซึ่งหมายถึงพืชคลุมดินไมวาจะเปนวัชพืช พืชเกษตร พืชปา

                  หญา ตนไมที่เหลืออยูในปจจุบันอาจจะพิจารณาจากรายงานของแผนที่ภาพถายทางอากาศจาก

                  ดาวเทียมที่สํารวจประจําป ซึ่งใหสภาพที่เปนจริงในปจจุบันมากที่สุด พืชคลุมดินดังกลาวจะเกี่ยวพันกับ

                  การชะลางผิวหนาดิน
                           การกําหนดชั้นคุณภาพลุมน้ํา  การกําหนดชั้นคุณภาพลุมน้ํา นอกจากจะกําหนดขอบเขต

                  ความเหมาะสมของพื้นที่เปนหลักและใชลักษณะทางกายภาพเปนพื้นฐานแลว ยังมีการศึกษาขอมูล

                  ดานอื่นๆ เพิ่มเติมจากขอมูลเบื้องตน ที่เกี่ยวของกับสภาพแวดลอม ซึ่งไดแก ปริมาณน้ํา  ปาไม  ดิน

                  ตะกอน ขอมูลเศรษฐกิจและสังคม มาใชพิจารณารวมเพื่อชวยใหการกําหนดชั้นคุณภาพลุมน้ําสมบูรณ
                  ยิ่งขึ้น  จากหลักเกณฑทั้ง 6 ประการเมื่อนํามาพิจารณากับสภาพพื้นที่แตละแหงของประเทศไทย

                  สามารถจําแนกได 5 ระดับชั้นคุณภาพ  โดยใหความสําคัญเรียงลําดับกันไป เพื่อเปนเครื่องมือชวย






                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   206   207   208   209   210   211   212   213   214   215   216