Page 32 - ผลสำเร็จของแผนการใช้ที่ดินระดับตำบลแบบบูรณาการในพื้นที่ ตำบลผักไหม อำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ
P. 32
19
- เขตปลูกพืชไร่ มีเนื้อที่ประมาณ 70 ไร่ หรือร้อยละ 0.40 ของเนื้อที่ต าบล
สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย ดินมีความเหมาะสมปานกลางส าหรับการปลูกพืชไร่
เพาะปลูกโดยอาศัยน้ าฝน การใช้ประโยชน์ที่ดินที่ส าคัญ ได้แก่ พืชไร่ผสม อ้อย ทุ่งหญ้า และไม้ละเมาะ
เขตปลูกพืชไร่ผสม มีเนื้อที่ประมาณ 70 ไร่ หรือร้อยละ 0.40 ของเนื้อที่ต าบล
สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย ดินร่วนปนทราย ความอุดมสมบูรณ์ต่ า มีความเหมาะสม
ปานกลางส าหรับการปลูกพืชไร่ การใช้ประโยชน์ปัจจุบันเป็นพืชไร่ผสม อ้อย ทุ่งหญ้า และ
ไม้ละเมาะ เขตนี้อาจเปลี่ยนแปลงเป็นเขตปลูกพืชไร่หรือไม้ยืนต้นเศรษฐกิจที่ส าคัญเฉพาะอย่างที่
ให้ผลตอบแทนสูงและได้รับการส่งเสริมให้เพาะปลูก เช่น ยางพารา อ้อย และมันส าปะหลัง พื้นที่มี
ขนาดเล็กอยู่บริเวณด้านตะวันตกตอนล่างของต าบล
ข้อเสนอแนะ สนับสนุนการท าการเกษตรแบบผสมผสาน เพื่อลดความเสี่ยง
ของเกษตรกรรายย่อย หรือก าหนดเป็นพื้นที่ขยายส าหรับการปลูกพืชทดแทนพลังงานหรือยางพารา
ตามยุทธศาสตร์ของจังหวัด
- เขตปลูกไม้ยืนต้น มีเนื้อที่ประมาณ 221 ไร่ หรือร้อยละ 1.25 ของเนื้อที่ต าบล
สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีความเหมาะสมปานกลางส าหรับการปลูกไม้ยืนต้น
เพาะปลูกโดยอาศัยน้ าฝนเป็นหลัก การใช้ประโยชน์ที่ดินที่ส าคัญ ได้แก่ ยูคาลิปตัสและป่าเสื่อมโทรม
เขตปลูกไม้ยืนต้นผสม มีเนื้อที่ประมาณ 221 ไร่ หรือร้อยละ 1.25 ของเนื้อที่
ต าบล สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย ดินร่วนปนทราย ความอุดมสมบูรณ์ต่ า มีความ
เหมาะสมปานกลางส าหรับการปลูกไม้ยืนต้น ปัจจุบันมีการปลูกยูคาลิปตัส และเป็นป่าเสื่อมโทรม
พื้นที่มีขนาดเล็กอยู่บริเวณด้านตะวันตกและด้านตะวันออกตอนล่างของต าบล
ข้อเสนอแนะ พัฒนาการผลิตโดยปรับปรุงบ ารุงดินให้อุดมสมบูรณ์โดยเน้น
การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ และผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีชีวภาพ บริเวณที่ค่อนข้างลุ่มควรท าทางระบายน้ า
หรือยกร่องปลูกเพื่อไม่ให้น้ าแช่ขังในฤดูฝน
(3) เขตเร่งรัดพัฒนาการเกษตร มีเนื้อที่ประมาณ 12,818 ไร่ หรือร้อยละ 72.47 ของ
เนื้อที่ต าบล เขตนี้ส่วนใหญ่เป็นที่ลุ่มใช้ท านา เพาะปลูกโดยอาศัยน้ าฝนเป็นหลัก ดินมีความเหมาะสม
เล็กน้อยส าหรับการเพาะปลูก ความอุดมสมบูรณ์ต่ า ดินค่อนข้างเป็นทราย ผลผลิตด้านการเกษตรในเขตนี้
จึงค่อนข้างต่ า การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตท าได้ค่อนข้างยาก เนื่องจากมีข้อจ ากัดหลายด้าน เป็นเขตที่มี
ปัญหาด้านความเสื่อมโทรมของทรัพยากร รัฐจึงควรก าหนดให้เป็นพื้นที่เป้าหมายแรกในการเร่งรัด
พัฒนาความเป็นอยู่ของเกษตรกรได้ดีขึ้น
เขตท านา 3 (สภาพดินควรปรับปรุงนอกเขตชลประทาน) มีเนื้อที่ประมาณ
12,818 ไร่ หรือร้อยละ 72.47 ของเนื้อที่ต าบล สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่ค่อนข้างราบลุ่ม บางแห่งเป็น
ที่ดอนแต่มีการปรับพื้นที่เพื่อใช้ท านา ดินร่วนปนทราย ความอุดมสมบูรณ์ต่ า มีความเหมาะสมเล็กน้อย