Page 15 - การศึกษาการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดินบริเวณพื้นที่ปลูกป่าของศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
P. 15

2


                      1.3  ระยะเวลาและสถานที่ด าเนินการ


                                  ระยะเวลา ตุลาคม 2549 ถึงเดือนกันยายน 2555 รวมระยะเวลา 7 ปี

                                  สถานที่ด าเนินการศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจกพระราชด าริ หมู่ 7
                      ต าบลสามพระยา อ าเภอชะอ า จังหวัดเพชรบุรี


                      1.4  ขั้นตอนและวิธีด าเนินงาน


                                  ก าหนดแปลงตัวอย่างเพื่อเป็นตัวแทนของพื้นที่ศึกษาในศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย
                      อันเนื่องมาจากพระราชด าริจ านวน 8 แปลง คือ ปมท.1-8 โดยเป็นแปลงป่าปลูก จ านวน 4  แปลง คือ

                      แปลง ปมท.ที่  1, 2, 4 และ 7 แปลงป่าธรรมชาติจ านวน 4 แปลง คือ แปลง ปมท.ที่ 3, 5, 6 และ 8

                      โดยมีรายละเอียดดังนี้
                                  แปลง ปมท.1       แปลงปลูกป่า พ.ศ. 2542

                                  แปลง ปมท.2       แปลงปลูกป่า พ.ศ. 2537

                                  แปลง ปมท.3       แปลงป่าธรรมชาติ ด้านทิศตะวันตกเขาทอง

                                  แปลง ปมท.4       แปลงปลูกป่า พ.ศ. 2532
                                  แปลง ปมท.5       แปลงป่าธรรมชาติ ด้านทิศตะวันออกเขาทอง

                                  แปลง ปมท.6       แปลงป่าธรรมชาติ ด้านทิศตะวันออกเขาทอง

                                  แปลง ปมท.7       แปลงปลูกป่า พ.ศ. 2537
                                  แปลง ปมท.8       แปลงป่าธรรมชาติ เขาบ่อขิง


                      วิธีด าเนินงาน


                                  1. การเก็บตัวอย่างดินเพื่อวิเคราะห์สมบัติดินทางเคมีเพื่อหาค่าความเป็นกรดเป็นด่าง

                      ของดิน ปริมาณอินทรียวัตถุ  ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์  ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็น

                      ประโยชน์ จะเก็บปีละ 1 ครั้ง ในเดือนพฤศจิกายน ทุกๆ ปี เป็นระยะเวลา 6 ปี แต่ละจุดจะมีเนื้อที่

                      10 x 10 เมตร โดยที่แต่ละ ปมท.1-8 จะมีขนาดแปลง 1 ไร่  โดยเก็บตัวอย่างดินที่ระดับความลึก 0-15
                      เซนติเมตร และ 15-30 เซนติเมตร ระดับความลึกละ 5 ตัวอย่าง รวมเป็นแปลง ปมท. ละ 10 ตัวอย่าง

                      รวม 8 แปลง จะรวมทั้งสิ้น 80 ตัวอย่าง น าข้อมูลที่ได้มาหาค่าเฉลี่ยและวิเคราะห์ผล เก็บตัวอย่างดินปี

                      ละ 1 ครั้ง ช่วงเดือนพฤศจิกายน เป็นระยะเวลา 6 ปี (เริ่ม พ.ศ. 2549 – 2554)

                                  2. การศึกษาความลึกของชั้นหน้าดินบน โดยศึกษาความหนาของการสะสม
                      อินทรียวัตถุของชั้นดินบน โดยการวัดความหนาของหน้าดินบนแต่ละแปลง ในแต่ละปีผลที่ได้น ามา

                      หาค่าเฉลี่ยจะเก็บข้อมูลทุกปีในช่วง 4 ปี แรก เว้น 2 ปี ครั้งสุดท้าย พ.ศ. 2555 ช่วงเดือนพฤศจิกายน

                      เป็นระยะเวลา 7 ปี
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20