Page 46 - รายงานสภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2553
P. 46

27





                                  (5)   มันสําปะหลัง มีพื นที รวมทั งสิ น 402,818 ไร่ ของพื นที ทั งหมด   พบปลูกมากที

                 อําเภอนํ ายืน อําเภอนํ าขุน อําเภอทุ่งศรีอุดม และพบกระจายอยู่ทั วไป โดยปลูกพันธุ์ห้วยบ่ง 60เป็นส่วนใหญ่

                 และมีแนวโน้มการปลูกเพิ มมากขึ น เนื องจากเกษตรกรมีสิ งจูงใจ ด้านราคาผลผลิตสูงขึ นเพราะตลาดมีความ
                 ต้องการมากขึ น ไม่เฉพาะการแปรรูปผลิตภัณฑ์ในรูปแบบเดิมเพื อการส่งออกเท่านั น ยังใช้เป็นวัตถุดิบ

                 พลังงานทดแทน (เอทานอล) ตามนโยบายของรัฐ ซึ งขณะนี  บริษัท อุบลเกษตรพลังงาน ตั งโรงงานทํามัน

                 เส้น ผลิตแป้ งมันสําปะหลัง   มีกําลังการผลิต 300 ตันแป้ งต่อวัน  บริษัท อุบล ไบโอ เอธานอล จํากัด     ผลิต

                 เอธานอลและจําหน่าย กําลังการผลิต 600,000 ลิตรต่อวัน และบริษัท อุบล ไบโอก๊าซ จํากัด ผลิตและ
                 จําหน่ายก๊าซชีวภาพ

                                  นอกจากนี ยังพบสภาพการใช้ที ดินด้วยการปลูกพืชไร่อื นๆ เช่น ถั วลิสง 15 ไร่    ปอแก้ว

                 ปอกระเจา 409ไร่ ข้าวไร่ 25 ไร่ แตงโม 157 ไร่ ปอสา 145 ไร่ พริก 12,604 ไร่ และ      เผือก 145 ไร่ เป็นต้น

                             3)    ไม้ยืนต้น (A3) มีพื นที  638,204 ไร่ หรือร้อยละ 6.49 ของพื นที ทั งหมด  ประกอบด้วย
                 พื นที ไม้ยืนต้นผสม 24 ไร่ ยางพารา 543,870 ไร่ จังหวัดอุบลราชธานี เป็ นจังหวัดหนึ งในภาค

                 ตะวันออกเฉียงเหนือ ที มีการปลูกยางพาราเป็นสินค้าเกษตรที สําคัญของจังหวัด ตั งแต่ในปี 2543/2552 ใน

                 การลงทุนการสร้างสวนยางพาราของเกษตรกร โดยมีพื นที ปลูกยางพาราเพิ มขึ นเรื อยๆ จากการวิเคราะห์
                 ศักยภาพพื นที ของจังหวัดอุบลราชธานี และสามารถให้ผลผลิตเฉลี ยสูงสุด 250  -  400 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี

                 และผลผลิตเฉลี ยตํ าสุด 200-250 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี ซึ งอยู่ในอําเภอนํ ายืน,บุณฑริก,  นาจะหลวย,สิรินธร

                 และโพธิ{ไทร แหล่งรับซื อยางพาราในจังหวัดอุบลราชธานี ดําเนินการในรูปของตลาดประมูลยางพารา โดย
                 การประสานงานของสํานักกองทุนสวนยางจังหวัดอุบลราชธานีซึ งเป็นหน่วยงานที ทําหน้าที ส่งเสริมและให้

                 ความสงเคราะห์ในการทําสวนยางพาราแก่เกษตรกร จะเป็นผู้ประสานการแข่งขันประมูลราคายาง กระจาย

                 อยู่ตามอําเภอต่างๆ เช่น อําเภอนํ ายืน,บุณฑริก,เดชอุดม,พิบูลมังสาหาร เป็นต้น ปาล์มนํ ามัน 4,957 ไร่ ยูคา
                 ลิปตัส 84,116  ไร่ พื นที ลุ่ม + ยูคาลิปตัส 42 ไร่    สัก 3,649  ไร่  กระถิน 23 ไร่  ประดู่ 236  ไร่ ไผ่ 675  ไร่

                 หมาก 26 ไร่ ตีนเป็ด 108 ไร่ กฤษณา 231 ไร่ และตะกู 283 ไร่

                            4)    ไม้ผล (A4) มีพื นที  74,744 ไร่ หรือร้อยละ 0.76 ของพื นที ทั งหมด ประกอบด้วยพื นที

                 ปลูกไม้ผลผสม 3,565 ไร่ ส้ม 1,129 ไร่ ทุเรียน 316 ไร่ เงาะ 1,395 ไร่ มะพร้าว  221 ไร่ ลิ นจี  24 ไร่ มะม่วง
                 9,142 ไร่ มะม่วงหิมพานต์ 49,952 ไร่ พุทรา 145ไร่ น้อยหน่า 98 ไร่   กล้วย 212ไร่ มะขาม 3,628 ไร่ ลําไย

                 2,986 ไร่ ฝรั ง 70 ไร่ มะละกอ 290 ไร่ ขนุน 99ไร่ กระท้อน 85 ไร่ ชมพู่ 22 ไร่ มะนาว 163 ไร่ มะกอกนํ า

                 450 ไร่ แก้วมังกร 513ไร่ ส้มโอ 176ไร่ มะปราง มะยงชิด 51 ไร่ และมะไฟ 12 ไร่ ซึ งพื นที ไม้ผลส่วนใหญ่

                 ของจังหวัดนี เป็นการปลูกมะม่วงหิมพานต์  และสวนมะม่วง คุณภาพเพื อการส่งออก
                             5)   พืชสวน (A5) มีพื นที  12,677 ไร่ หรือร้อยละ 0.13 ของพื นที ทั งหมด ประกอบด้วยพื นที

                 ปลูกพืชสวนผสม 63 ไร่ พืชผัก 11,386 ไร่ ไม้ดอก 1,170 ไร่ และหวาย 58 ไร่
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51