Page 45 - รายงานสภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2553
P. 45
26
3.1.2 พื.นที เกษตรกรรม (A) มีพื นที 5,975,492 ไร่ หรือร้อยละ 60.72 ของพื นที ทั งหมด เป็นการใช้
ประโยชน์ที ดินที มากเป็นอันดับ 1 ของการใช้ประโยชน์ที ดินของจังหวัด เนื องมาจากการพัฒนาด้านการทํา
การเกษตรสามารถปลูกพืชได้ทั งในและนอกเขตชลประทานแสดง ให้เห็นว่าประชากรจังหวัดอุบลราชธานี
เป็นจังหวัดที ดํารงชีวิตอยู่ได้ด้วยการเกษตรกรรมมากที สุดประกอบด้วยสภาพการใช้ที ดินในลักษณะแตกต่าง
กันที สําคัญ ได้แก่
1) นาข้าว (A1) 4,804,500 ไร่ หรือร้อยละ 48.82 ของพื นที ทั งหมด ซึ งส่วนใหญ่เป็นนา
หว่าน ปลูกข้าวเจ้าหอมมะลิซึ งเป็นสินค้าหลักของจังหวัดซึ งส่งขายทั งในและนอกปะเทศ เกษตรกรจะทํานา
ปรัง เพื อให้เกษตรกรมีอาชีพที มั นคงและมีรายได้เพิ มมากขึ น ข้าวที นิยมปลูกส่วนใหญ่คือ
ข้าวเหนียวพันธุ์ กข.10 และข้าวจ้าวพันธุ์ชัยนาท 1 ปลูกเพื อการบริโภคในครัวเรือนมีเหลือจึงแบ่งขาย แต่
ราคาก็ไม่สูงเช่นเดียวกับข้าวนาปี เช่น ข้าวนาปีกิโลกรัมละ 10 บาท ข้าวนาปรัง กิโลกรัมละ 3-4 บาท
ประกอบกับต้นทุนในการปลูกค่อนข้างสูง ทําให้พื นที ในการปลูกต่อรายไม่น้อย ประมาณ 5 - 10 ไร่ /ราย
พื นที นาข้าวจะพบปลูกกระจายอยู่ทุกพื นที ทั วทั งจังหวัด แต่พื นที ที ปลูกมากเป็นอับดับหนึ งได้แก่ อําเภอ
เดชอุดม อําเภอพิบูลมังสาหาร และอําเภอตระการพืชผล
2) พืชไร่ (A2) มีพื นที 426,867ไร่ หรือร้อยละ 4.34 ของพื นที ทั งหมด จากนาข้าว มีการ
เปลี ยนแปลงสภาพการใช้ที ดินด้วยการปลูกพืชไร่ ซึ งเป็นพืชเศรษฐกิจที สําคัญของจังหวัด ประกอบด้วย
(1) พื นที ไร่ร้าง (A200) มีเนื อที รวมทั งสิ น 7,552 ไร่ ของพื นที ทั งหมด พื นที ไร่ร้าง
หมายถึง พื นที ที ถูกปล่อยทิ งไว้โดยไม่ได้เข้าทําประโยชน์ต่อเนื องกัน ตั งแต่ 1 ปีขึ นไป พื นที ร้างดังกล่าว
เป็นพื นที ที เคยปลูกพืชไร่มาก่อนและปล่อยทิ งไว้ไม่เข้าทําประโยชน์ ด้วยสาเหตุต่างๆ กัน
(2) พืชไร่ผสม (A201) มีเนื อที รวมทั งสิ น 14 ไร่ ของพื นที ทั งหมด พืชไร่ผสม
หมายถึง พื นที ที มีการปลูกพืช ตั งแต่ 2 ชนิดขึ นไป ปลูกปะปนในพื นที ขนาดเล็กแปลงเดียวกัน ไม่สามารถ
จําแนกเป็นรายชนิดพืชได้ ทั งนี เพราะต้องการผลผลิตเพิ มมากขึ น และลดความเสี ยงจากการปลูกพืชพาณิชย์
เชิงเดี ยว (Mono Crop) ประกอบกับบางแห่งเป็นช่วงระยะของการเปลี ยนแปลงประเภทการใช้ที ดิน จากพืช
ไร่สู่ไม้ยืนต้น จากการสํารวจภาคสนามเกษตรกรได้ให้เหตุผลว่า เพื อลดความเสี ยงจากราคาผลผลิตที ไม่
แน่นอนของพืชไร่บางชนิดราคาสูงขึ นดีกว่าปลูกพืชชนิดเดียวจึงปลูกพืชไร่ผสม
(3) ข้าวโพด (A202) มีเนื อที รวมทั งสิ น 181 ไร่ ของพื นที ทั งหมด โดยเกษตรกร
ปลูกข้าวโพดเลี ยงสัตว์ ได้แก่พันธุ์คาร์กิลส์919 พันธ์บิก 717 และพันธุ์แปซิฟิค 984
(4) อ้อย (A203) มีพื นที รวมทั งสิ น 2,802 ไร่ ของพื นที ทั งหมด พบปลูกมากที สุดที
อําเภอนาจะหลวย รองลงมาคืออําเภอสว่างวีระวงศ์ และพบกระจายอยู่ทั วไป ส่วนใหญ่เป็นพื นที ต่อเนื อง
กับภูเขา เนินเขา และที สูงที ดอน แต่เป็นที น่าสังเกตว่ามีปริมาณการปลูกลดลง เนื องจากช่วงระยะนี ตลาดมี
ความต้องการน้อยลง โดยปลูกพันธุ์ อู่ทอง 3, อู่ทอง 5, อู่ทอง 6, K88-92,และขอนแก่น 1