Page 11 - ค่าวิเคราะห์ดิน โครงการ 84 ตำบล ปุ๋ยลดตันทุนเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระชนมายุ 84 พรรษา
P. 11
4
5.2 การวิเคราะห์ดินและการแปลผลวิเคราะห์ดิน
การวิเคราะห์ตัวอย่างดินในห้องปฏิบัติการ ใช้วิธีการวิเคราะห์ดิน ดังนี้
1. ค่าปฏิกิริยาดิน ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดิน(pH) โดยวิธี 1:1 ดิน:น้ํา
2. ค่าความต้องการปูน (LR) โดยวิธี woodruff (1948)
3. ปริมาณอินทรียวัตถุ (OM) โดยวิธี “Walkly&Black (1947)
4. ค่า ฟอสฟอรัส (P) โพแทสเซี่ยม (K) โดยวิธี Double acid ของ Mehlich (1953)
การแปลผลวิเคราะห์ดิน
ปริมาณอินทรียวัตถุ แบ่งเป็น 4 ระดับ ดังนี้ หน่วย : %
ต่ํามาก very low น้อยกว่า 0.5
ต่ํา low 0.5-1.5
ปานกลาง medium 1.5-3.5
สูง high มากกว่า 3.5
ปริมาณธาตุฟอสฟอรัส แบ่งเป็น 3 ระดับ ดังนี้ หน่วย : ppm.
ต่ํา low น้อยกว่า 10
ปานกลาง medium 10-25
สูง high มากกว่า 25
ปริมาณธาตุโพแทสเซี่ยม แบ่งเป็น 3 ระดับ ดังนี้ หน่วย : ppm.
ต่ํา low น้อยกว่า 60
ปานกลาง medium 60-90
สูง high มากกว่า 90
5.3 แผนที่แสดงจุดเก็บและวิเคราะห์ตัวอย่างดิน 84 ตําบล
แผนที่ประเทศไทย แสดงจุดเก็บและวิเคราะห์ตัวอย่างดินทั้ง 84 ตําบล เป็นจุดสีแดง สําหรับ
แผนที่แสดงจุดเก็บตัวอย่างดินที่มีชื่อตําบล ชื่ออําเภอ และชื่อจังหวัด กํากับอยู่นั้น เส้นสีบานเย็น
แสดงขอบเขตของตําบล จุดเล็กๆสีเขียวแสดงจุดเก็บตัวอย่างดินที่มีหมายเลขกํากับ 30 จุด สีฟ้า
แสดงเส้นทางน้ํา สีแดงแสดงเส้นถนน แผนที่มีทั้งหมด 84 ตําบล ดังนี้