Page 90 - ดินเพื่อประชาชน
P. 90

ดินเพื่อประชาชน 83



            วิธีการแกไข

                    1) ถาพืชขาดธาตุอาหารหลักพวก ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และ โพแทสเซียม

            นิยมใสปุยใหทางดิน  เพราะพืชตองการมาก  การใหปุยทางใบโดยปกติจะชวยเสริม

            ใหสามารถแกไขไดทันทวงทีในชวงแรกๆ   ปุยที่ใชควรเลือกสูตรใหเหมาะสมตาม
            ลักษณะที่พืชขาด   ตัวเลขสูตรปุย เชน 30-20-10  หมายถึงปริมาณของ ไนโตรเจน
            ฟอสฟอรัส และ โพแทสเซียม ในปุยนั้นตามลําดับ

                    2) ถาพืชแสดงอาการขาดแคลเซียม หรือ แมกนีเซียม ซึ่งโดยปกติจะพบใน

            ดินที่เปนกรด  แกไขไดโดยการใสปูน  ถาขาดแคลเซียมอาจใชปูนมารล ปูนขาวหรือ
            หินปูนบด   แตถาขาดแมกนีเซียม ดวยควรใชปูนโดโลไมต เพราะมีทั้ง แคลเซียม

            และ แมกนีเซียม
                    3) ถาพืชขาดจุลธาตุ  ควรปรับสภาพความเปนกรด-ดางของดิน pH ใหมี

            คาประมาณ 5.5-7    เพราะดินในสภาพนี้ จุลธาตุจะละลายออกมาใหพืชใชได
            พอเหมาะไมมากหรือนอยเกินไป   แตถาดินมีธาตุเหลานี้นอยนิยมเพิ่มในรูปของปุย

            อินทรีย เชน ปุยหมัก ปุยคอก   เพราะปุยพวกนี้มีธาตุเหลานี้อยูดวย อยางไรก็ตาม
            การใสปุยใหทางดินอาจจะชาแกไขไดไมทันการ   ดังนั้นอาจมีการฉีดพนใหทางใบ

            ดวย   ในปจจุบันมีปุยที่มีพวกจุลธาตุผสมอยูมาก   เชน ปุยน้ําหรือปุยเกร็ดละลาย
            น้ํา  แตถาทราบวาขาดจุลธาตุเพียง 1 หรือ 2 ตัว ก็อาจหาซื้อปุยที่มีเฉพาะธาตุนั้นๆ

            มาฉีดใหทางใบก็ได   เชน  เหล็กคีเลทใหธาตุเหล็ก  แมงกานีสซัลเฟตให แมงกานีส

            และกํามะถัน  ซิงซัลเฟตใหสังกะสีและกํามะถัน  คอปเปอรซัลเฟตใหทองแดงและ
            กํามะถัน โบแร็กซใหโบรอน แอมโมเนียม โมลิบเดทใหโมลิบดินัมและไนโตรเจน และ
            อื่นๆ อีกมาก
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95